KNOWLEDGE BANK @ SPU

เป็นโครงการเชื่อมโยงชุมชนนักวิชาการ อาจารย์ นักวิจัย บรรณารักษ์ และ นักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุมในการนำคลังความรู้ของคณะและหน่วยงานมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ในฐานข้อมูลเดียวกัน

 

คลังข้อมูลสถาบันมหาวิทยาลัยศรีปทุม

(SPU-IR : Sripatum University Institutional Repository)

แหล่งรวมข้อมูลผลงานด้านวิชาการของคณาจารย์ นักศึกษา และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้แก่ บทความวิชาการ

ผลงานวิจัย วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ ตำราและสื่อการสอน ที่จัดเก็บในรูปแบบดิจิทัล

เพื่อให้บุคลากร นักศึกษา และบุคคลทั่วไปที่สนใจ สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลผลงานวิชาการ และเอกสารดิจิทัลต่าง ๆ

ของมหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้อย่างเสรี (Free Open Access) เป็นการส่งเสริมคุณภาพและความแข็งแกร่งด้านวิชาการของ

มหาวิทยาลัย ให้เผยแพร่ เกิดการพัฒนาและต่อยอดองค์ความรู้ เพื่อนำไปสู่ประโยชน์ของประเทศ


ชุมชนใน SPU-IR

เลือกชุมชนเพื่อเรียกดูคอลเลคชัน

ตอนนี้กำลังแสดง1 - 8 ของ 33
กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

College of Aviation and Transportation

วิทยาลัยการบินและคมนาคม

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

Graduate College of Management

วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

School of Business Administration

คณะบริหารธุรกิจ

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

College of Logistics and Supply Chain

วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

Institute General Education

สำนักวิชาศึกษาทั่วไป

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

School of Communication Arts

คณะนิเทศศาสตร์

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

College of Tourism and Hospitality

วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการ

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

School of Accounting

คณะบัญชี

ผลงานล่าสุด

รายการ
การทดสอบการแจกแจงและการทดสอบวิ่งของ เลขท้ายสองตัวของผลการออกรางวัลสลากกินแบ่งรัฐบาล
(Panyapiwat Journal, 2005-01-01) Amnart VangJeen; Supon Phrommaphan
Abstract This research aims to: 1) analyze the frequency distribution of the last two digits of the first prize and the two-digit lottery prizes, 2) study the correlation between the digit positions of the last two digits in the first prize and the two-digit prizes, and 3) test the runs of high digits (5-9) and low digits (0-4) for the last two digits of the first prize and the two-digit prizes. This study examines 825 government lotteries drawn from the past 35 years (1990 to 2024), analyzing the last two digits of both the first prize and the two-digit prizes. The statistical methods used include frequency classification, percentage, chi-square test, Pearson correlation coefficient, Z-test, and run test. The research results revealed that 1) regarding the frequency distribution, for the first prize’s last two digits, the most frequently drawn digits in the tens and units positions were 5 and 7, and 7 and 4, respectively; for the two-digit prize, the most frequently drawn digits in the tens and units positions were 9 and 6, and 9 and 5, respectively; the frequency analysis showed significant deviations uniform distribution for the first prize’s units digit and both digits of the two-digit prize (χ2= 22.430, 22482 and 17.582, p-value < 0.05), 2) regarding the parity analysis (odd-even distribution), the draws of the last two digits for both the first prize and the two-digit prize showed similar occurrences of odd and even numbers; chi-square tests for the parity relationship across the four positions found no statistically significant correlation; correlation coefficient analysis between the four positions also indicated no statistically significant relationship, and 3) regarding the run test for high and low digits, the analysis of runs for high (5-9) and low (0-4) digits from January 16, 1990 to May 16, 2024 showed random patterns in the arrangement of these digits in both the first prize and the two-digit prizes indicating no significant patterns. The conclusion of the statistical analysis of the last two digits for the first prize and the two-digit prizes indicates transparency in the lottery drawing process, as observed through the randomness and lack of systematic patterns in the results.
รายการ
บทบาทการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ส่งผลกระทบต่อบริบททางด้านจริยธรรมและความมั่นคงปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
(วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2025-01-30) Amnart Vangjeen; Supon Phrommaphan
This research objectives to study: (1) the factors affecting ethics and information technology security; (2) the level of ethical violations and threats to information technology security, and (3) the factors influencing ethics and information technology security, which can be classified into five areas, which can be classified into 5 aspects: 1). Including knowledge and understanding of Information Technology, 2). the Act, 3). on Social, 4). Economic, 5). Behavior using computer and Social Media, by using the Quantitative Research Methodology The results of the research found that (1). the factors that have an impact on Ethics and Information technology security at a high level. The areas with high averages were behavior using computer and social media next was the social aspect. (2) the ethics and security in Information technology at a high level. The areas with high averages were internet scams and access to pornography. As for information technology security with high averages were the internet and social media which were the source of computer crimes and the government must be more strict in the security policy of information technology. (3) factors influencing the ethics and security of information technology with statistical significance at the 0.05 level, respectively, were: the behavior of using computers and social media, economic, social and knowledge and understanding of information technology, the knowledge and understanding of the Act no ethical influence and information technology security. Keywords: Cyber Crime, Social Media, Ethics, Information Technology, Fishing
รายการ
การบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับกระบวนการอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยของทหาร
(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2568) ณัฐพนธ์ วาปีธรรม
สารนิพนธ์นี้มุ่งศึกษาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับกระบวนการอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยของทหาร ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) แนวคิด ทฤษฎี หลักการเกี่ยวกับกระบวนการอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยของทหาร (2) กฎหมายเกี่ยวกับกระบวนการอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยของทหารของต่างประเทศและประเทศไทย (3) วิเคราะห์ปัญหากระบวนการอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยของทหาร (4) แนวทางแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับกระบวนการอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยของทหาร ผลการศึกษาพบว่าพระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยทหาร พุทธศักราช 2476 แม้ว่ามาตรา 21 กำหนดให้ข้าราชการทหารมีสิทธิร้องทุกข์หากพบว่าถูกลงโทษโดยไม่เป็นธรรม แต่ไม่มีบทบัญญัติที่ให้สิทธิในการอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัย ส่งผลให้ไม่มีช่องทางอุทธรณ์ทำให้ข้าราชการทหารไม่สามารถโต้แย้งคำสั่งลงโทษหรือขอให้มีการพิจารณาใหม่ได้
รายการ
การบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการกำหนดโทษทางอาญา ศึกษากรณีการซื้อขายข้อมูลส่วนบุคคลโดยมิชอบด้วยกฎหมาย
(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2568) พัชรภีม สุขอนันต์
การวิจัยนี้มุ่งศึกษาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการกำหนดโทษทางอาญา ศึกษากรณีการซื้อขายข้อมูลส่วนบุคคลโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) แนวคิด ทฤษฎี และหลักการเกี่ยวกับการกำหนดโทษทางอาญาในกรณีการซื้อขายข้อมูลส่วนบุคคลโดยมิชอบด้วยกฎหมาย (2) มาตรการการกำหนดโทษทางอาญาในกรณีการซื้อขายข้อมูลส่วนบุคคลโดยมิชอบด้วยกฎหมายของระหว่างประเทศ ต่างประเทศ และประเทศไทย (3) วิเคราะห์ปัญหาการกำหนดโทษทางอาญาในกรณีการซื้อขายข้อมูลส่วนบุคคลโดยมิชอบด้วยกฎหมาย (4) เพื่อให้ศึกษาแนวทางในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการกำหนดโทษทางอาญาในกรณีการซื้อขายข้อมูลส่วนบุคคลโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ผลการศึกษาพบว่า การกำหนดโทษทางอาญาในกรณีการซื้อขายข้อมูลส่วนบุคคล โดยมิชอบด้วยกฎหมายตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 และพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ไม่ครอบคลุมถึงบุคคลธรรมดา
รายการ
การหักส่วนความรับผิดตามกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2568) ศุภกร ศรีคณากุล
สารนิพนธ์นี้มุ่งศึกษาประวัติความเป็นมาแนวคิดและทฤษฎีของความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่และการหักส่วนความรับผิดของเจ้าหน้าที่โดยพิจารณาตามความร้ายแรงแห่งการกระทำและความเป็นธรรมในแต่ละกรณี และความผิดหรือความบกพร่องของหน่วยงานของรัฐและระบบการดำเนินงานส่วนรวม โดยเปรียบเทียบกฎหมายไทย กฎหมายต่างประเทศ แนวคำวินิจฉัยของศาลปกครองไทยและศาลต่างประเทศในคดีละเมิดจากการกระทำของเจ้าหน้าที่ จากการศึกษาวิจัยพบว่า กฎหมายในประเทศไทยนั้นไม่ได้กำหนดความหมายของความร้ายแรงแห่งการกระทำและความเป็นธรรมในแต่ละกรณี และความผิดหรือความบกพร่องของหน่วยงานของรัฐและระบบการดำเนินงานส่วนรวม และหลักเกณฑ์ในการหักส่วนความรับผิดไว้อย่างชัดเจน