LAW-02. บทความวิชาการ/วิจัย (วารสารระดับชาติ)

URI ถาวรสำหรับคอลเล็กชันนี้

เรียกดู

การส่งล่าสุด

ตอนนี้กำลังแสดง1 - 13 ของ 13
  • รายการ
    ร่างพระราชบัญญัติขนส่งทางราง พ.ศ. .... ศึกษากรณีผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการขนส่งทางราง
    (วารสารวิชาการคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 2567-01) ทัชชภร มหาแถลง,เจียมจิต สุวรรณน้อย
    บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาร่างพระราชบัญญัติขนส่งทางราง พ.ศ. .... กรณีผู้ได้รับใบอนุญาต ประกอบกิจการขนส่งทางรางของประเทศไทย พร้อมทั้งเปรียบเทียบกับกฎหมายต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น สหภาพยุโรป และประเทศสเปน และนำเสนอแนะแนวทางแก้ไขร่างพระราชบัญญัติขนส่งทางรางให้เข้ากับบริบท ของประเทศไทยในภายต่อไป จากการศึกษาพบว่า ร่างพระราชบัญญัติขนส่งทางราง พ.ศ. .... เป็นบทบัญญัติของกฎหมายที่จัดทำขึ้น เพื่อควบคุมและกำกับกิจการขนส่งทางรางและเพื่อสนับสนุนงานของกรมการขนส่งทางรางที่จัดตั้งขึ้นในสังกัด กระทรวงคมนาคม กรมการขนส่งทางราง เนื่องด้วยที่ผ่านมาระบบการขนส่งของประเทศไทยจะมุ่งเน้นไปที่ การขนส่งทางถนนซึ่งมีต้นทุนค่าใช้จ่ายที่สูงหากเปรียบเทียบกับการขนส่งทางรางที่สามารถขนส่งแต่ละเที่ยวได้ ในปริมาณมากและมีต้นทุนที่ต่ำกว่า ดังนั้นหากได้มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางรางของประเทศให้มี โครงข่ายที่สมบูรณ์ครอบคลุมให้เชื่อมต่อกับการขนส่งระบบอื่นทั้งในประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน หรือแม้แต่ การเปิดโอกาสให้เอกชนได้เข้ามามีบทบาทอย่างชัดเจนในการร่วมกันส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมการขนส่ง ทางรางในระดับประเทศและในระดับภูมิภาคอย่างมั่นคงและยั่งยืน The purpose of this article is to study the draft of the Rail Transport Act B.E. .... in the case of those who have received a license to operate a rail transport business in Thailand. as well as comparing with foreign laws, including Japan, the European Union, and Spain. and suggest ways to amend the draft Rail Transport Act to suit the Thai context in the future. The study found that the Draft Rail Transport Act B.E..... is a provision of the law created to control and supervise rail transport and to support the work of the Department of Rail Transport established under the Ministry of Transport. Department of Rail Transport because in the past, Thailand’s transportation system focused on road transportation, which has high costs when compared to rail transportation that can transport large quantities each trip and has a lower cost. Therefore, if the country’s rail infrastructure is developed to have a complete and comprehensive network to connect with other transportation systems both in the country and in neighboring countries. or even allowing the private sector to play a clear role in jointly promoting and developing the rail transport industry at the national and regional levels in a stable and sustainable manner.
  • รายการ
    ร่างพระราชบัญญัติขนส่งทางราง พ.ศ. .... ศึกษากรณีผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการขนส่งทางราง
    (คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 2567-01) ผศ.ทัชชภร มหาแถลง,ผศ.เจียมจิต สุวรรณน้อย; Assistant Prof.Thatchaporn Mahathalaeng, Assistant Prof.Cheamchit Suwannoi
    บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาร่างพระราชบัญญัติขนส่งทางราง พ.ศ. .... กรณีผู้ได้รับใบอนุญาต ประกอบกิจการขนส่งทางรางของประเทศไทย พร้อมทั้งเปรียบเทียบกับกฎหมายต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น สหภาพยุโรป และประเทศสเปน และนำเสนอแนะแนวทางแก้ไขร่างพระราชบัญญัติขนส่งทางรางให้เข้ากับบริบท ของประเทศไทยในภายต่อไป จากการศึกษาพบว่า ร่างพระราชบัญญัติขนส่งทางราง พ.ศ. .... เป็นบทบัญญัติของกฎหมายที่จัดทำขึ้น เพื่อควบคุมและกำกับกิจการขนส่งทางรางและเพื่อสนับสนุนงานของกรมการขนส่งทางรางที่จัดตั้งขึ้นในสังกัด กระทรวงคมนาคม กรมการขนส่งทางราง เนื่องด้วยที่ผ่านมาระบบการขนส่งของประเทศไทยจะมุ่งเน้นไปที่ การขนส่งทางถนนซึ่งมีต้นทุนค่าใช้จ่ายที่สูงหากเปรียบเทียบกับการขนส่งทางรางที่สามารถขนส่งแต่ละเที่ยวได้ ในปริมาณมากและมีต้นทุนที่ต่ำกว่า ดังนั้นหากได้มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางรางของประเทศให้มี โครงข่ายที่สมบูรณ์ครอบคลุมให้เชื่อมต่อกับการขนส่งระบบอื่นทั้งในประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน หรือแม้แต่ การเปิดโอกาสให้เอกชนได้เข้ามามีบทบาทอย่างชัดเจนในการร่วมกันส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมการขนส่ง ทางรางในระดับประเทศและในระดับภูมิภาคอย่างมั่นคงและยั่งยืน The purpose of this article is to study the draft of the Rail Transport Act B.E. .... in the case of those who have received a license to operate a rail transport business in Thailand. as well as comparing with foreign laws, including Japan, the European Union, and Spain. and suggest ways to amend the draft Rail Transport Act to suit the Thai context in the future. The study found that the Draft Rail Transport Act B.E..... is a provision of the law created to control and supervise rail transport and to support the work of the Department of Rail Transport established under the Ministry of Transport. Department of Rail Transport because in the past, Thailand’s transportation system focused on road transportation, which has high costs when compared to rail transportation that can transport large quantities each trip and has a lower cost. Therefore, if the country’s rail infrastructure is developed to have a complete and comprehensive network to connect with other transportation systems both in the country and in neighboring countries. or even allowing the private sector to play a clear role in jointly promoting and developing the rail transport industry at the national and regional levels in a stable and sustainable manner.
  • รายการ
    ปัญหาการวินิจฉัยจุดเวลาที่การแสดงเจตนามีผลในธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กรณีที่ผู้ส่งข้อมูลและผู้รับข้อมูลแลกเปลี่ยนข้อมูลบนระบบเดียวกัน
    (วารสารวิชาการวิทยาลัยสัณตพล, 2566-07-01) PITTAYA CHAIMAHAPRUK; พิทยา ไชยมหาพฤกษ์
    One of the most important aspects of electronic transactions is that there must always be "dispatch" of intentions via electronic media. Therefore, consideration whether the electronic information has been "dispatch" is consideration whether intentions have been expressed. According to Section 22 of the Electronic Transactions Act, BE 2544, which was drafted in accordance with the UNCITRAL Model Law on Electronic Commerce 1996, the information is considered “dispatch” when it has entered into an information system beyond the control of originators. This provision, however, may not be applied to the dispatch of information that originators and recipients exchange information on the same information system. Since the information will never enter into the information system that is beyond the control of the originators, the intentions will never be considered expressed, which will also affect the occurrence of electronic contracts. Therefore, the author studied how South Korea and Australia amended their electronic commerce laws, which originally were drafted in accordance with the Model Law as same as Thailand’s, to use as a guideline for amending the Electronic Transactions Act B.E. 2544 of Thailand.
  • รายการ
    มาตรการแจ้งเตือนและเอาออก : ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายลิขสิทธิ์ของประเทศไทยกับกฎหมายลิขสิทธิ์ของประเทศสิงคโปร์
    (วารสารคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2561-06-01) พิทยา ไชยมหาพฤกษ์
    “Notice and takedown measure” is the measure that gives rise to the liability of an Internet Service Providers (ISPs) to take any reasonable action to cease the copyright infringement on the internet, once receipt of the notice of infringement sent by the copyright owners of the licensees. Otherwise ISPs might be subject to copyright litigation. Thailand has adopted this measure and provided in the provision of Section 32/3 of the Copyright Act, 2537 B.E., as an injunction measure before lawsuit. The copyright owners is required to file a court an injunction to order ISPs to cease the copyright infringement that happens on ISPs’ network. This measure, however, is new to Thailand, that is, it has been adopted and enforced in Thailand by the year 2559 B.E. by the Copyright Act (No.2) 2558 B.E.. On the contrary, Singapore has adopted this measure and provided in the provision of Copyright Act (Chapter 63) 1987 for 18 years. According to a comparative study of the implementation of Thailand’s notice and takedown measure with Singapore, it is evident that the Thai law on this measure still has many issues that need to be amended in some way in order to improve the efficiency in both piracy suppression and the protection of the rights of copyright owners and the internet users.
  • รายการ
    การเสริมสร้างความร่วมมือในการกำกับดูแล การแข่งขันในสังคมยุคข้อมูลข่าวสาร
    (2563-08-08) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิสิต อินทมาโน
  • รายการ
    สิทธิการให้นมแม่ในสถานประกอบการ : ประเด็นใหม่ในด้านกฎหมาย
    (วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2562-12) ผศ.ทัชชภร มหาแถลง
    เป็นที่ยอมรับโดยนานาประเทศว่าน้ำนมแม่เป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและประโยชน์สูงสุดสำหรับเด็กต่อพัฒนาการทางด้านร่างกายและสติปัญญา ตลอดจนเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค จึงเป็นที่มาของการรณรงค์สนับสนุนให้เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมแม่เพียงอย่างเดียวจากองค์การอนามัยโลก (World Health Organization : WHO) และองค์การยูนิเซฟ (UNICEF) ซึ่งส่งผลให้กฎหมายของประเทศต่างๆ ได้บัญญัติรับรองและคุ้มครองสิทธิการให้นมแม่เอาไว้ในประเด็นสำคัญ คือ การกำหนดระยะเวลาลาคลอดที่เหมาะสมโดยลูกจ้างยังได้รับค่าตอบแทน ทั้งนี้ ประเทศไทยได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในเรื่องดังกล่าวและได้มีความพยายามผลักดันการขยายระยะเวลาลาคลอด และให้ลูกจ้างมีสิทธิได้รับเงินค่าตอบแทนด้วยการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ที่มีผลบังคับใช้ในปัจจุบัน คือ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 อย่างไรก็ตาม นอกเหนือจากประเด็นดังกล่าวข้างต้นสิทธิการให้นมแม่ในสถานประกอบการยังเป็นอีกประเด็นหนึ่งที่หลายประเทศให้ความสำคัญ โดยได้มีบทบัญญัติของกฎหมายกำหนดให้สถานประกอบการ แต่ละแห่งต้องจัดเตรียมสถานที่สำหรับให้นมหรือปั้มนมระหว่างทำงานที่ไม่ใช่ห้องน้ำหรือห้องพยาบาลให้ผู้ประกอบการหรือนายจ้างต้องปฏิบัติตาม ในขณะที่ประเทศไทยยังขาดความสนใจนี้ ดังนั้น ประเทศไทยสมควรนำมาพิจารณาให้สิทธิการให้นมแม่ในสถานประกอบการเกิดขึ้นได้อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเป็นการส่งเสริมการให้นมแม่ต่อพัฒนาการของเด็กที่ดียิ่งขึ้น และยังเป็นประโยชน์ต่อนายจ้างและลูกจ้าง รวมถึงประเทศชาติโดยรวมต่อไป Recognized by various countries, breast milk is a nutritious food and the most beneficial for child physical and intellectual development as well as strengthen immunity. Therefore, World Health Organization (WHO) and United Nations International Children's Emergency Fund (UNICEF) lunched the campaign to support breastfeeding which has resulted in the laws of various countries has established and protected the rights to breastfeeding as a major issue, which is to determine the appropriate maternity leave with pay. This matter, Thailand foresee the importance of this issue and endeavor to extend of maternity leave and allow the employee to receive the wage by amending the current law, which are the Labor Protection Act B.E. 2541 and the Social Security Act B.E. 2533. However, apart from the above issues, the breastfeeding rights in the workplace is another issue that many countries pay attention to. By having the provisions of law required that each organization facility must prepare a place for breastfeeding or breast pump during working hour which is not the bathroom or the nursing room. While Thailand still lacks this awareness. Therefore, In order to promote breastfeeding for better child development and also benefit employers and employees including the nation as a whole, Thailand deserves to recognize the breastfeeding rights in the workplace materially.
  • รายการ
    การคุ้มครองชีวมาตรภายใต้พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562
    (วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ, 2563-12-28) ผศ.ทัชชภร มหาแถลง
    เนื่องจากปัจจุบันมีการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล โดยเฉพาะการจัดเก็บข้อมูลชีวมาตร ซึ่งมีผลมาจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล การเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลทาได้โดยง่าย สะดวก และรวดเร็ว อันมีผลกระทบต่อความมั่นคง และเศรษฐกิจโดยรวม ประเทศไทยจึงได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2560 ขึ้น เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์ กลไก หรือมาตรการกากับดูแลเกี่ยวกับการให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล อย่างไรก็ตาม กฎหมายฉบับนี้ยังมีประเด็นที่น่าศึกษาวิเคราะห์เพิ่มเติมในเรื่องของการเก็บรวมรวม ใช้ ประมวลผล และการส่งหรือโอนข้อมูลไปยังต่างประเทศ โดยได้ศึกษาเปรียบเทียบจากกฎหมายคุ้มครองส่วนบุคคลของต่างประเทศ ได้แก่ สหภาพยุโรป ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศแคนาดา และประเทศสหพันธรัฐเยอรมัน เพื่อนามาปรับปรุง แก้ไข หรือเพิ่มเติมบทบัญญัติกฎหมายของประทศไทย อันเป็นประโยชน์ด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น Nowadays, the violation of personal information causes damage to the information owners, especially the biometric data, because the advance technology made the acquire access and disclose of personal data easily. Due to mentional problem may affect Thailand’s national security and economy; therefore, the Government promulgated the Personal Data Protection Act 2017 to specify criteria, mechanisms, or regulatory measures regarding the protection of personal data. However, this Act still has some issues that should study further regarding the collection, usage, processing transmission, and or transferring of information to other countries. This study employed a comparative study of personal data protection laws of foreign countries such as the European Union, the United States of America, Canada, and Germany should in order to improve or amend the Thai law to become more efficient in the protection of personal data.
  • รายการ
    การคุ้มครองชีวมาตรภายใต้พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562
    (วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ, 2563-12-28) ผศ.ทัชชภร มหาแถลง
    เนื่องจากปัจจุบันมีการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล โดยเฉพาะการจัดเก็บข้อมูลชีวมาตร ซึ่งมีผลมาจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล การเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลทาได้โดยง่าย สะดวก และรวดเร็ว อันมีผลกระทบต่อความมั่นคง และเศรษฐกิจโดยรวม ประเทศไทยจึงได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2560 ขึ้น เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์ กลไก หรือมาตรการกากับดูแลเกี่ยวกับการให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล อย่างไรก็ตาม กฎหมายฉบับนี้ยังมีประเด็นที่น่าศึกษาวิเคราะห์เพิ่มเติมในเรื่องของการเก็บรวมรวม ใช้ ประมวลผล และการส่งหรือโอนข้อมูลไปยังต่างประเทศ โดยได้ศึกษาเปรียบเทียบจากกฎหมายคุ้มครองส่วนบุคคลของต่างประเทศ ได้แก่ สหภาพยุโรป ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศแคนาดา และประเทศสหพันธรัฐเยอรมัน เพื่อนามาปรับปรุง แก้ไข หรือเพิ่มเติมบทบัญญัติกฎหมายของประทศไทย อันเป็นประโยชน์ด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น Nowadays, the violation of personal information causes damage to the information owners, especially the biometric data, because the advance technology made the acquire access and disclose of personal data easily. Due to mentional problem may affect Thailand’s national security and economy; therefore, the Government promulgated the Personal Data Protection Act 2017 to specify criteria, mechanisms, or regulatory measures regarding the protection of personal data. However, this Act still has some issues that should study further regarding the collection, usage, processing transmission, and or transferring of information to other countries. This study employed a comparative study of personal data protection laws of foreign countries such as the European Union, the United States of America, Canada, and Germany should in order to improve or amend the Thai law to become more efficient in the protection of personal data.
  • รายการ
    ก้าวต่อไปของกฎหมายคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว
    (มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา, 2561-12) สุภัสสร ภู่เจริญศิลป์
    ภายหลังการบังคับใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ระยะหนึ่ง ได้พบ ปัญหาหลายประการ นำไปสู่การเสนอ (ร่าง) พระราชบัญญัติคุ้มครองสวัสดิภาพบุคคลในครอบครัว พ.ศ. …… จากการศึกษา ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวพบหลายประเด็นที่น่าพิจารณา ซึ่งในที่นี้จะยกขึ้นมาพิจารณาสามประเด็น คือ การให้ศาลมีอำนาจ สั่งห้ามผู้กระทำความรุนแรงในครอบครัวเข้าไปในที่อยู่อาศัย หรือให้ย้ายออกจากที่พักอาศัย แม้ที่อยู่อาศัยหรือที่พักอาศัยนั้น เป็นของผู้กระทำหรือผู้กระทำมีสิทธิตามกฎหมายในสถานที่นั้นก็ตาม การให้อำนาจนี้กระทบต่อสิทธิเสรีภาพของผู้กระทำใน ฐานะที่เป็นเจ้าของทรัพย์สินเกินสมควรหรือไม่ เมื่อพิจารณาแล้วพบว่าไม่เกินสมควร เนื่องจากกระทำไปเพื่อประโยชน์ สาธารณะ แม้จะกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของผู้กระทำแต่ประโยชน์สาธารณะย่อมเหนือกว่าสิทธิส่วนบุคคล ประเด็นต่อมา กรณีผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัวเป็นผู้สูงอายุ ควรมีมาตรการอื่น ๆ ในการคุ้มครองเพิ่มเติมหรือไม่ พบว่าควรมี มาตรการอื่นเพิ่มเติม เช่น ให้ศาลมีอำนาจสั่งถอนคืนการให้ ด้วยเหตุที่ผู้รับการให้ได้กระทำความรุนแรงในครอบครัวต่อผู้ให้ซึ่ง เป็นผู้สูงอายุ และประเด็นสุดท้าย การกำหนดให้ผู้พบเห็นหรือทราบการกระทำความรุนแรงในครอบครัวแจ้งต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่ แต่มิได้กำหนดบทลงโทษหรือมาตรการใด ๆ แก่ผู้ที่ไม่แจ้ง บทบัญญัติที่ให้แจ้งนี้เพียงพอแล้วหรือไม่ที่จะทำให้ทุกคน ในสังคมตระหนักว่าตนเป็นส่วนหนึ่งที่จะต้องร่วมกันแก้ไขปัญหาดังกล่าว พบว่ายังไม่เพียงพอ รัฐควรร่วมมือกับทุกภาคส่วนใน การให้ความรู้และจัดกิจกรรมรณรงค์ต่อต้านการกระทำความรุนแรงในครอบครัวอย่างต่อเนื่อง
  • รายการ
    ปัญหาบทบัญญัติความผิดฐานเสพแอมเฟตามีนในขณะปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ขับรถ
    (วารสารบทบัณฑิตย์ สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, 2556-09) เจียมจิต สุวรรณน้อย
  • รายการ
    การตอบโต้กลับของภริยาผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว กับเหตุลดหย่อนโทษตามกฎหมายอาญา
    (วารสารบทบัณฑิตย์ สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, 2557-09) เจียมจิต สุวรรณน้อย