Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/4185
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธนภณ สมหวังen_US
dc.date.accessioned2555-11-21T06:24:36Z-
dc.date.available2555-11-21T06:24:36Z-
dc.date.issued2555-11-21T06:24:36Z-
dc.identifier.citationธนภณ สมหวัง. 2555. "ความคิดทางจริยศาตร์และการประยุกต์ใช้กับการศึกษาไทย ในทรรศนะของพระธรรมปิฎก(ประยุทธ์ ปยุตุโต)." ผลงานวิจัย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.-
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/4185-
dc.description.abstractผลการวิจัยพบว่า จริยศาสตร์ในทรรศนะของพระธรรมปิฎกมีความหมายและขอบเขตกว้างกว่าจริยศาสตร์ตะวันตกที่จำกัดขอบเตเฉพาะการประพฤติที่ดีงามภายนอก คือ การอยู่ร่วมกันด้วยดีในสังคมและธรรมชาติแวดล้อม ซึ่งตรงกับคำว่า ศลีธรรมหรือธรรมะระดับศลีในพระพุทธศาสนาเท่านั้น ในขณะที่จริยศาสตร์ตามแนวคิดของพระธรรมปิฎกซึ่งมีแหล่งที่มาจากพระพุทธศาสนาเถรวาท มีลักษณะเป็นระบบความสัมพันธ์ในองค์รวมที่ส่งผลสัมพันธ์กันซึ่งเรียกว่า “จริยศาสตร์ทางสายกลาง” หรือ “จริยศาสตร์แบบองค์รวม” ที่ครอบคลุมและบูรณาการหลักการดำเนินชีวิตที่ดีงามของมนุษย์ทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านพฤติกรรม (ศลี) จิตใจ (สมาธิ) และปัญญา (ปัญญา) โดยเชื่อมโยงและประสานองค์ประกอบแห่งระบบบูรณาการทั้ง สามคือ มนุษย์ ธรรมชาติ และสังคมเข้าด้วยกัน เพื่อเข้าถึงความจริง ความดีงามและความสุข...en_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.subjectจริยศาสตร์en_US
dc.subjectพระธรรมปิฎกen_US
dc.titleความคิดทางจริยศาตร์และการประยุกต์ใช้กับการศึกษาไทย ในทรรศนะของพระธรรมปิฎก(ประยุทธ์ ปยุตุโต)en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:LIA-06. ผลงานวิจัย



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.