Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/4552
Title: แรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับปริญญาโทของข้าราชการ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน = THE MOTIVATION TO STUDY FOR A MASTER’S DEGREE OF THE GOVERNMENT OFFICER IN THE DEPARTMENT OF ALTERNATIVE ENERGY DEVELOPMENT AND EFFICIENCY
Authors: สมฤทัย ไทยนิยม
Keywords: แรงจูงใจ
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
Issue Date: 19-January-2558
Abstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรื่อง แรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับปริญญาโทของข้าราชการ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน โดยศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที1แตกต่างกัน ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ อายุราชการ ระดับตำแหน่งงาน รายได้ ต่อเดือน แหล่งทุนสนับสนุน ว่ามีผลต่อแรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับปริญญาโทของข้าราชการ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานหรือไม่ โดยกลุ่มตัวอย่างที1ใช้ในการศึกษาคือ ข้าราชการ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน จำนวน 174 คน ซึ่งกำหนดโดยใช้สูตรการคำนวณของทาโรยามาเน่ (Yamane) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถาม ผู้ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ โดยสถิติที1ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยร้อยละ และส่วนเบี1ยงเบนมาตรฐาน จากการศึกษาพบว่า 1. มีเพศชายมากกว่าเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 62.1 อายุระหว่าง 36 - 45 ปี คิดเป็นร้อยละ 37.4 ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรส คิดเป็นร้อยละ 56.9 ซึ1งมีอายุราชการ 15 ปี ขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ 37.4 โดยมีตำแหน่งงานระดับชำนาญการมาีกที่สุด คิดเป็นร้อยละ 56.3 มีรายได้ต่อเดือน 30,001 ขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ 31.0 และมีแหล่งเงินทุนที1นำมาใช้ในการศึกษาต่อมาจากตนเอง คิดเป็นร้อยละ 48.9 2.การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ1ือศึกษาเรื่อง แรงจูงใจในการศึกษาต่อ ระดับปริญญาโทของข้าราชการ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน โดยศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที1แตกต่างกัน ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ อายุราชการ ระดับตำแหน่งงาน รายได้ต่อเดือน แหล่งทุนสนับสนุน ว่ามีผลต่อแรงจูงใจในการศึกษาต่อระดับปริญญาโทของข้าราชการกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานหรือไม่ โดยกลุ่มตัวอย่างที1ใช้ในการศึกษาคือ ข้าราชการ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน จำนวน 174 คน ซึ1งกำหนดโดยใช้สูตรการคำนวณของทาโรยามาเน่ (Yamane) เครื1องมือที1ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถาม ผู้ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ โดยสถิติที1ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย(X) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) จากการศึกษาพบว่า 1. มีเพศชายมากกว่าเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 62.1 อายุระหว่าง 36 - 45 ปี คิดเป็นร้อยละ 37.4 ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรส คิดเป็นร้อยละ 56.9 ซึ1งมีอายุราชการ 15 ปี ขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ 37.4 โดยมีตำแหน่งงานระดับชำนาญการมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 56.3 มีรายได้ต่อเดือน 30,001 ขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ 31.0 และมีแหล่งเงินทุนนำมาใช้ในการศึกษาต่อมาจากตนเอง คิดเป็นร้อยละ 48.9
Description: มหาวิทยาลัยศรีปทุม
URI: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/4552
Appears in Collections:S_PAY-03. บทความวิชาการ/วิจัย (อื่นๆ)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
บทความ-55830121_สมฤทัย ไทยนิยม MBA-2556.pdf234.76 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.