Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5016
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพลภัทร์ จาดเจริญen_US
dc.date.accessioned2017-05-04T07:03:46Z-
dc.date.available2017-05-04T07:03:46Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.citationพลภัทร์ จาดเจริญ. 2558. "สถาบันการท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออก." ผลงานนักศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5016-
dc.description.abstractการศึกษาวิทยานิพนธ์โครงการ สถาบันการท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออก เป็นโครงการที่ ดาเนินการตามนโยบายของ กรมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) โดยมีจุดประสงค์ที่จะ สร้างสถานที่ๆเป็นทั้งแหล่งท่องเที่ยวและแหล่งรวบรวมความรู้ รวมไปถึงการพัฒนาศักยภาพ ของบุคคลากร เพื่อเป้าหมายในการสร้าง การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน วิธีการศึกษาเพื่อการออกแบบโครงการ ศึกษาจากข้อมูลทางด้านการท่องเที่ยว และ ข้อมูลของมัคคุเทศก์ ซึ่งเป็นบุคลากรที่มีความสาคัญต่อ การท่องเที่ยวของประเทศไทย โดย ศึกษาจาก ประเภทของมัคคุเทศก์ โครงสร้างหลักสูตรในการฝึกอบรม เพื่อที่จะหาข้อบกพร่อง แล้วจึงนาไปใช้เป็นเนื้อหาในการออกแบบส่วนต่างๆของโครงการ ผลการศึกษาออกแบบ โดยมีแนวความคิดแบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลักๆ โดยส่วนที่1เป็น แนวคิดในการออกแบบรูปทรงของอาคาร ส่วนที่2เป็นแนวคิดในการพื้นที่ใช้สอยภายในอาคาร และส่วนที่ 3 เป็นการออกแบบแนวความคิดในการวางตัวอาคารที่ตอบสนองต่อสภาพบริบท ส่วนที่ 1 เป็นแนวคิดที่ได้จากการวิเคราะห์ องค์ประกอบของหมู่บ้านชาวประมง ในแง่ ขององค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม เพื่อนามาใช้ในการออกแบบตัวอาคาร ที่แสดงถึง เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมท้องถิ่น และสามารถย้าเตือนถึงรากเหง้าของชาวบางแสน ส่วนที่ 2 เป็นแนวคิดที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลหลักสูตรการฝึกอบรม ของมัคคุเทศก์ เพื่อสร้างพื้นที่ๆส่งเสริมหลักสูตรการฝึกอบรม โดยการนาเนื้อหาในวิชา ประวัติศาสตร์ศิลปะ ไทย วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย และประเพณีและวัฒนธรรมไทย มาใช้ในการจัดแสดง นิทรรศการ เพื่อดึงนักท่องเที่ยว นักเรียนนักศึกษา และประชาชนที่สนใจ เข้ามาใช้ในโครงการ เพื่อเพมิ่ โอกาสให้ผู้เข้าฝึกอบรมได้สร้างปฏิสัมพันธ์กับกลุ่มผู้เข้าชม ส่วนที่ 3 จากวิเคราะห์บริบทโดยรอบ ทาให้ได้แนวความคิดในการวางตัวอาคาร ที่ ศูนย์กลางของเส้นทางสัญจรใหม่ในบริบทโดยรอบหาดบางแสน โดยเส้นทางดังกล่าวสามารถดึง ผู้คน และนักท่องเที่ยว ให้เดินทางผ่านตัวอาคารไปยังหาดบางแสน หรือ เดินทางเข้ามาใช้ อาคารได้สะดวกด้วยการเดินผ่านเส้นทางใหม่ที่เกิดขึ้นen_US
dc.description.sponsorshipหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.relation.ispartofseries53042963_พลภัทร์ จาดเจริญen_US
dc.subjectท่องเที่ยวen_US
dc.subjectมัคคุเทศก์en_US
dc.subjectประเทศไทยen_US
dc.subjectภูมิภาคตะวันออกen_US
dc.subjectประมงen_US
dc.subjectวัฒนธรรมen_US
dc.subjectประวัติศาสตร์en_US
dc.subjectศิลปะen_US
dc.titleสถาบันการท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกen_US
dc.title.alternativeEastern tourism academyen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:ARC-08. ผลงานนักศึกษา

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
53042963_Ponrapat_Jadjarern.pdf53.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.