ศูนย์ศึกษานวัตกรรมโครงสร้างไม้ไผ่
กำลังโหลด...
วันที่
2559
ผู้เขียน
ชื่อวารสาร
วารสาร ISSN
ชื่อหนังสือ
สำนักพิมพ์
หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
เชิงนามธรรม
ในการออกแบบโครงการมีแนวคิดในการออกแบบคือ การดึงเอาศักยภาพของไม่ไผ่ออกมาใช้ ออกมาโชว์ให้เห็นมากที่สุด โดยจุดเด่นของไม้ไผ่คือ “ความยืดหยุ่น” โดยออกแบบอาคารให้มีความยืดหยุ่นมากที่สุด เพื่อให้ได้รับรู้ถึงความสามารถของไม้ไผ่ที่แตกต่างจากไม้ชนิดอื่น แล้วโชว์โครงสร้างไม้ไผ่ทั้งอาคารเพื่อให้เห็นว่าโครงสร้างไม้ไผ่สามารถทำแบบนี้ได้จริงแล้วใช้วัสดุทั้งอาคารเป็นไม่ไผ่ทั้ง หมด อาคารส่วนใหญ่จะไม่มีผนังเพื่อให้ได้สัมผัสกับธรรมชาติที่อยู่รอบๆ โครงการแล้วจะใช้แสงจากธรรมชาติเข้ามาใช้ในตัวอาคารให้มากที่สุด เปิดมุมมองออกไปให้เห็นวิวที่เป็นภูเขาให้ได้สัมผัสกับธรรมชาติมากที่สุด Funtion หลักของโครงการหลักจะมีอยู่ 2 ส่วน คือ 1. ส่วนของพื้นที่การเรียนรู้ที่สอนการทำโครงสร้างไม้ไผ่จากหุ่นจำลองเพื่อให้เกิดทักษะจากการเรียนรู้จากประสพการจริง 2. ส่วนของพื้นที่จัดแสดงจะให้เรียนรู้จากการดู โดยจะเริ่ม แสดงจากพันธ์ไผ่ที่สามารถนำมาใช้เป็โครงสร้าง รูปแบบของโครงสร้างจากดั้งเดิมจนมาถึงปัจจุบัน การต่อไม้ในลักษณะต่างๆ การบำรุงไม้ไผ่ให้มีอายุการใช้งานเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้เข้าใจถึงความรู้เรื่องโครงสร้างไม้ไผ่ได้ทั้งหมด
คำอธิบาย
คำหลัก
โครงสร้างไม้ไผ่, เรือนเครื่องผูก, พันธ์ุไม้ไผ่, คุณสมบัติเชิงกลของไม้ไผ่
การอ้างอิง
ทศพล เมืองพรม. 2559. "ศูนย์ศึกษานวัตกรรมโครงสร้างไม้ไผ่." ผลงานนักศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.