Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5150
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorทนุวงศ์ จักษุพาen_US
dc.date.accessioned2017-05-18T03:55:36Z-
dc.date.available2017-05-18T03:55:36Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.citationทนุวงศ์ จักษุพา. 2559. "การพัฒนาออนโทโลจีสำหรับระบบผู้แนะนำการเลือกข้อสอบภาคปฏิบัติสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยปัจจัยเชิงคุณภาพ." วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5150-
dc.descriptionสารนิพนธ์ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ, มหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์สองประการคือ 1) เพื่อพัฒนาออนโทโลจีปัจจัยเชิงคุณภาพ 2)เพื่อพัฒนาระบบแนะนำการคัดเลือกข้อสอบภาคปฏิบัติสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยปัจจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยใช้เทคนิคเดลฟายเพื่อรวบรวมข้อคิดเห็นปัจจัยเชิงคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ปัจจัยที่รวบรวมได้ถูกนาไปจัดกลุ่มตามเกณฑ์คุณภาพ ได้แก่ ความยากง่าย ความเที่ยงตรง อานาจจำแนก ความเชื่อมั่นและความเป็นปรนัย การพัฒนาออนโทโลจีอาศัยโปรแกรมโฮโซะและระบบแนะนำการออกข้อสอบภาคปฏิบัติสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีคุณภาพถูกพัฒนาขึ้นในรูปแบบของเว็บแอพพลิเคชั่นโดยมีระบบค้นหาเชิงความหมายช่วยสนับสนุนการทำงาน และทั้งหมดอาศัยเครื่องมือจัดการโปรแกรมประยุกต์ออนโทโลจีโอเอเอ็ม ผู้วิจัยได้ใช้การประเมินประสิทธิผลของงานวิจัยนี้ 3 วิธีคือ (1) การประเมินความเหมาะสมโครงสร้างออนโทโลจีโดยผู้เชี่ยวชาญ (2) การประเมินประสิทธิผลการค้นหาจากระบบค้นหาเชิงความหมายบนฐานออนโทโลจีด้วยค่าความเที่ยง ค่าระลึก และค่าเอฟเมเชอร์ (3) การประเมินความพึงพอใจการใช้งานระบบผู้แนะนำจากผู้ออกข้อสอบ ผลการวิจัยพบว่า ออนโทโลจีที่เสนอมีความเหมาะสมในระดับดีโดยมีค่าเฉลี่ย 4.28 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.52 และมีประสิทธิผลในการค้นหาในระดับดีมาก โดยมีค่าของความเที่ยงเท่ากับ 1.00 ค่าระลึกเท่ากับ 1.00 และ ค่าเอฟเมเชอร์เท่ากับ 1.00 นอกจากนี้ผู้ออกข้อสอบมีความพึงพอใจการใช้งานระบบแนะนำที่ได้มีค่าเฉลี่ย 4.30 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.53 This research has two objectives: to develop qualitative factor ontology and to apply the ontology for implementing a recommendation system with qualitative factors in selecting information technology hands-on examination problems. We used Delphi technique to gather opinions with respect to qualitative factors from experts. The factors were grouped on the criteria of discrimination, difficulty, validity, reliability and objectivity for the development of ontology by using Hozo program and the development of a recommendation system based on the developed ontology in the form of web application with Ontology Application Management (OAM) Framework. We evaluated the effectiveness of the process with two methods: (1) the suitability evaluation of the ontology’s structure by experts (2) the effectiveness evaluation of searching in terms of precision, recall and F-measure. The results showed that the proposed ontology had the suitability good a means 4.28 and standard deviation 0.52 evaluation, the best degree of searching effectiveness with a precision equal to 1.00 , a recall equal to 1.00 and an F-measure equal to 1.00 and had appropriate level of the recommendation system in suitability good a means 4.30 and standard deviation 0.53en_US
dc.description.sponsorshipหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.relation.ispartofseries53560093_ทนุวงศ์ จักษุพาen_US
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศen_US
dc.subjectข้อสอบภาคปฏิบัติen_US
dc.subjectออนโทโลจีen_US
dc.subjectระบบผู้แนะนำen_US
dc.subjectคุณภาพของแบบทดสอบen_US
dc.subjectINFORMATION TECHNOLOGYen_US
dc.subjectHANDS-ON EXAMINATIONen_US
dc.subjectONTOLOGYen_US
dc.subjectRECOMMENDER SYSTEMen_US
dc.titleการพัฒนาออนโทโลจีสำหรับระบบผู้แนะนำการเลือกข้อสอบภาคปฏิบัติสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยปัจจัยเชิงคุณภาพen_US
dc.title.alternativeONTOLOGY DEVELOPMENT FOR RECOMMENDER SYSTEM WITH QUALITATIVE FACTORS FOR HANDS-ON EXAMINATION SELECTION IN INFORMATION TECHNOLOGYen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:INF-10. วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.