Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5523
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุกัญญา ตระกรุตen_US
dc.date.accessioned2018-04-19T07:27:14Z-
dc.date.available2018-04-19T07:27:14Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.citationสุกัญญา ตระกรุต. 2560. "ปัญหาการคัดค้านคำสั่งของเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ ในกรณีที่ผู้ชุมนุมกระทำการในลักษณะรุนแรง." สารนิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5523-
dc.descriptionสุกัญญา ตระกรุต. ปัญหาการคัดค้านคำสั่งของเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะในกรณีที่ผู้ชุมนุมกระทำการในลักษณะรุนแรง. สารนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ. 2560.en_US
dc.description.abstractการชุมนุมสาธารณะโดยสงบและปราศจากอาวุธถือเป็นสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชนที่รัฐธรรมนูญให้การรับรองไว้ แต่เนื่องจากการชุมนุมสาธารณะมีความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดความไม่สงบหรือจราจลขึ้นได้ง่าย จึงมีพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 ขึ้นเพื่อจัดระเบียบกำหนดให้ทุกฝ่ายอันได้แก่ ผู้จัดการชุมนุม ผู้ชุมนุมและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ต้องร่วมกันรับผิดชอบควบคุมดูแลให้การชุมนุมเป็นไปอย่างสงบและคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่นที่ไม่ได้ร่วมการชุมนุมด้วย กรณีการชุมนุมสาธารณะผู้ชุมนุมได้กระทำการอันมีลักษณะรุนแรงตามมาตรา 25 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 นั้น มิได้บัญญัติไว้อย่างชัดเจนว่ากระทำการเช่นใดถือเป็นการกระทำอันมีลักษณะรุนแรง แต่ได้ให้อำนาจดุลพินิจของเจ้าพนักงานผู้ดูแลการชุมนุมสาธารณะในการตัดสิน ซึ่งอาจพบปัญหาจากการใช้อำนาจดุลพินิจที่เกินขอบเขตของเจ้าพนักงานผู้ดูแลการชุมนุมสาธารณะในการตัดสิทธิของผู้ชุมนุมสาธารณะโดยสงบ เนื่องจากไม่มีบทบัญญัติที่ชัดเจนและอาจเกิดจากแนวความคิดในแง่ลบที่มีต่อผู้ชุมนุมสาธารณะที่เป็นผู้ก่อให้เกิดความวุ่นวายในบ้านเมือง จึงควรมีการวางหลักเกณฑ์ในการกำหนดว่าการกระทำเช่นใดเป็นการกระทำอันมีลักษณะรุนแรงให้เป็นรูปธรรม เพื่อให้ส่วนราชการยึดถือปฏิบัติ เกิดความเข้าใจต่อหลักปฏิบัติ โดยดำเนินการออกระเบียบหรือกฎหมายเป็นลายลักษณ์อักษรแน่นอน ข้อกำหนดอันพึงปฏิบัติและห้ามไม่ให้ปฏิบัติไว้อย่างแน่ชัด และหากยังไม่มีการบัญญัติไว้อย่างชัดเจน โดยการออกระเบียบหรือกฎหมาย สำนักงานตำรวจแห่งชาติควรทำหนังสือเวียนและจัดฝึกอบรมเพื่อให้เจ้าพนักงานผู้ดูแลการชุมนุมสาธารณะและผู้บังคับบัญชาทราบว่า การกระทำเช่นใด มีลักษณะรุนแรง เพื่อให้มีมาตรฐานในการตัดสินต่อไปen_US
dc.description.sponsorshipหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.relation.ispartofseriesSPU_สุกัญญา_2560en_US
dc.subjectการกระทำลักษณะรุนแรงen_US
dc.subjectการคัดค้านคำสั่งen_US
dc.subjectการฟ้องเพิกถอนคำสั่งให้ยุติการชุมนุมสาธารณะen_US
dc.subjectการชุมนุมสาธารณะen_US
dc.titleปัญหาการคัดค้านคำสั่งของเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ ในกรณีที่ผู้ชุมนุมกระทำการในลักษณะรุนแรงen_US
dc.title.alternativePROBLEM OF OBJECTION OF THE OFFICIALS WHO IS THE GUARDIAN IN THE PUBLIC ASSEMBLING IN THE CASE OF VIOLENT ACT BY THE DEMONSTRATORSen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:LAW-11. การค้นคว้าอิสระ/สารนิพนธ์



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.