Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6475
Title: การสร้างคอนเทนต์ใน “เน็ตฟลิกซ์” ตามแนวคิดการเล่าเรื่อง
Other Titles: Netflix’s Content Design according to Narrative Theory
Authors: ผศ.นับทอง ทองใบ
Keywords: Netflix
Content Design
Narrative
Issue Date: 20-December-2561
Publisher: มหาวิทยาลัยศรีปทุม
Citation: เอกสารอ้างอิง กฤษดา เกิดดี. (2547). ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ การศึกษาว่าด้วย 10 ตระกูลสำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: พิมพ์คำ. “จับเข่าคุยกับผู้บริหาร Netflix “James Rothwell และ Anne Wallin”.”, (2560). สืบค้นเมื่อ วันที่ 3 พฤศจิกายน 2561, จาก https://marketeeronline.co/archives/3413 ธาม เชื้อสถาปนศิริ. (2558). “เล่าเรื่องข้ามสื่อ.” วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรม นิด้า 2 (1): 59-87. รักศานต์ วิวัฒน์สินอุดม. (2558). การเขียนบทภาพยนตร์บันเทิง. กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. “About Netflix.” (2018). สืบค้นเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2561, จาก https://media.netflix.com/en/about-netflix Bailey, Craig. (2010). “Content is King by Bill Gates.” สืบค้นเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม 2561, จาก https://www.craigbailey.net/content-is-king-by-bill-gates/ Crozier, Maddy. (2016) “Netflix success rooted in originals.” สืบค้นเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2561, จาก https://depauliaonline.com/23834/focus/netflix-success-rooted-originals/ Giannetti, L. (2014). Understanding Movies (13th edition). Boston:
Abstract: บทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอลักษณะคอนเทนต์ (Content) ประเภทซีรีส์ของเน็ตฟลิกซ์ ผู้ให้บริการวิดีโอ สตรีมมิ่งของสหรัฐอเมริกา ตามแนวคิดการเล่าเรื่อง และเพื่อนำเสนอวิธีการจัดหมวดหมู่ แนวเรื่อง (Genre) คอนเทนต์ในเน็ตฟลิกซ์ โดยพบว่าคอนเทนต์ในเน็ตฟลิกซ์มีจุดเด่นที่ความสดใหม่ หลากหลาย ทั้งเรื่องราวเพื่อรองรับผู้ชมกลุ่มใหญ่ระดับโลกที่มักสร้างเรื่องที่คนทั้งโลกมีประสบการณ์ร่วมกัน ผ่านการนำเสนอตัวละครที่มีลักษณะมืดหม่น (Dark) มีข้อบกพร่องสูง เพื่อเอื้อต่อการแต่งเติมเรื่องราวต่อยอดให้ตัวละครมีพัฒนาการ นอกจากนี้คอนเทนต์ยังเน้นเจาะกลุ่มผู้ชมเฉพาะ (Niche) โดยสร้างตัวละครเอกให้เป็นภาพแทนของกลุ่มวัฒนธรรมย่อยๆ ที่แตกต่างกัน ในเน็ตฟลิกซ์ยังมีวิธีการจัดหมวดหมู่คอนเทนต์แตกย่อยออกไปจากการจัดแนวเรื่องแบบเก่าที่มีรากฐานจากแนวเรื่องแบบภาพยนตร์ โดยคำนึงถึงการจัดหมวดหมู่ตามอารมณ์ บรรยากาศของเรื่อง และลักษณะเฉพาะของตัวละครด้วย
URI: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6475
Appears in Collections:CMU-04. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับนานาชาติ)



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.