Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/654
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorฉัตร สุจินดา-
dc.date.accessioned2551-02-03T01:59:57Z-
dc.date.available2551-02-03T01:59:57Z-
dc.date.issued2006-10-24-
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/654-
dc.description.abstractมาตรฐานการออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีหน่วยแรงใช้งาน วสท. 1007-34 ได้กำหนดหน่วยแรงที่ยอมให้ สำหรับเหล็กเสริมข้ออ้อยซึ่งมีกำลังครากน้อยกว่า 4,000 กก/ซม2 ให้ใช้ร้อยละ 50 ของกำลังคราก แต่ต้องไม่เกิน 1,500 กก/ซม2 ถ้าเหล็กเสริมข้ออ้อยซึ่งมีกำลังครากมากกว่าหรือเท่ากับ 4,000 กก/ซม2 ให้ใช้ได้ไม่เกิน 1,700 กก/ซม2 แต่ในปัจจุบันมีเหล็กเสริมที่มีกำลังครากมากกว่า 4,000 กก/ซม2 แต่มีราคาต่อหน่วยเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ซึ่งหากได้มีการปรับปรุงมาตรฐานใหม่ โดยยอมให้ใช้หน่วยแรงที่ยอมให้เพิ่มขึ้น ก็จะส่งผลให้สามารถประหยัดค่าวัสดุได้อย่างมากมาย บทความนี้นำเสนอการศึกษาทางพารามิเตอร์ ถึงผลกระทบของค่าหน่วยแรงที่ยอมให้ในเหล็กเสริม ที่ใช้ในขั้นตอนการออกแบบด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งาน ที่มีผลต่อหน้าตัดที่ออกแบบ ซึ่งหน้าตัดที่ออกแบบได้นำมาวิเคราะห์หาความสามารถในการรับโมเมนต์ดัดด้วยวิธีกำลัง จากการศึกษานี้พบว่า หากเพิ่มหน่วยแรงที่ยอมให้เป็น 2,200 กก/ซม2 และ 2,800 กก/ซม2 สำหรับเหล็กเสริมที่มีกำลังคราก 4,000 กก/ซม2 และ 5,000 กก/ซม2 ตามลำดับ จะทำให้หน้าตัดที่ออกแบบมาได้ มีความสามารถในการรับน้ำหนักบรรทุกใกล้เคียงกับน้ำหนักบรรทุกที่ใช้ในขั้นตอนการออกแบบ จะเห็นได้ว่าค่าหน่วยแรงที่ยอมให้ทั้งสองเกินกว่า 1,700 กก/ซม2 ดังนั้นจึงแนะนำให้ยกเลิกข้อกำหนดที่ว่า หน่วยแรงที่ยอมให้ในเหล็กเสริมที่มีกำลังครากมากกว่าหรือเท่ากับ 4,000 กก/ซม2 ให้ใช้ไม่เกิน 1,700 กก/ซม2 ออกไปจากมาตรฐาน วสท. 1007 ในฉบับใหม่en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 12en_US
dc.relation.ispartofseriesSTR-017en_US
dc.subjectParametric studyen_US
dc.subjectReinforced concrete designen_US
dc.subjectAllowable stressen_US
dc.subjectRebarsen_US
dc.subjectCode developementen_US
dc.titleการศึกษาทางพารามิเตอร์เพื่อกำหนดหน่วยแรงที่ยอมให้ที่เหมาะสมen_US
dc.title.alternativeA PARAMETRIC STUDY FOR CHOOSING APPROPRIATE ALLOWABLE STRESS FOR REBARS IN THE DESIGN CODEen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
Appears in Collections:บทความวิชาการ

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
STR017 Full Paper 1.pdfFull Paper478.16 kBAdobe PDFView/Open
STR017 Power Point Presentation.pdfPower Point Presentation528.89 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.