Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6665
Title: Technique for preparing to be professional teacher standards SPU-PSF Sripatum University
Other Titles: เทคนิคการเตรียมความพร้อมเข้าสู่การพัฒนาอาจารย์มาตรฐานมืออาชีพ SPU-PSF มหาวิทยาลัยศรีปทุม
Authors: บุณยนุช สุขทาพจน์
Keywords: เทคนิค, การสอน, สร้างสรรค์, อาจารย์มืออาชีพ
Technique, Teaching, CBL, SPU-PSF
Issue Date: 19-December-2562
Publisher: Sripatum University
Citation: บุณยนุช สุขทาพจน์. 2562. "เทคนิคการเตรียมความพร้อมเข้าสู่การพัฒนาอาจารย์มาตรฐานมืออาชีพ SPU-PSF มหาวิทยาลัยศรีปทุม."งานประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 14, 27..
Abstract: There are 4 domains of the Professional Instructor Standard (SPU-PSF) which are divide by 1) Structure of Knowledge include two topics 2) Learning Process include four topics 3) Value of Professional Instructor include two topic 4) Outcome of Student include two topics. In each topic there are 4 levels, which are beginner , professional , specialist and expertise. Therefore, these are the norm of improve the instructor to expertise in this area and also this is related with the Thai Qualification Framework For Higher Education. Which may argue that, it is quite focusing for the first level( Beginner) and second level (specialist). For the best academic to student, it has required the form of 5 process of CBL within the lesson. Which may who interested it, more understand in detail, the process of study , the compile of thinking and lessoning for make an evidence to the much more. In each domains, it must have explain by concrete with the image by use the Facebook program to manage. Moreover, it can be for a contact in anytime and anyplace. Include, a news announcement , brain storming, review lesson , group activities though collective video recording in class for protocol. Lastly, make it easily to use in the future like the Professional Instructor Standard (SPU-PSF).
Description: ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552 กำหนดให้สถาบันอุดมศึกษาจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นมาตรฐานผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) ของผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรในการจัดการเรียนการสอน และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้สามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ และได้มาตรฐานที่เทียบเคียงกันได้ทั้งในระดับชาติและระดับสากลมีความร่วมมือกันในส่วนของการดำเนินการโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และความร่วมมือกับต่างประเทศในปี พ.ศ. 2558 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ดำเนินโครงการความร่วมมือกับสหภาพยุโรป (EU) ในโครงการ “TQF and the Development of Professional Standards Framework” โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมความเป็นมืออาชีพของอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ทั้งในด้านศาสตร์ในสาขา ด้านการออกแบบหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และทัศนคติที่ดีงามในความเป็นอาจารย์มืออาชีพ จึงมีการส่งเสริมให้อาจารย์มีคุณภาพในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งเกิดขึ้นนานแล้วในต่างประเทศสหภาพยุโรป ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำของโลกเป็นจำนวนมาก จึงศึกษาจากการนำไปใช้ของสหราชอาณาจักร และของประเทศออสเตรเลีย ตลอดจนจากสถาบันอุดมศึกษาของไทยได้มีการริเริ่มนำไปจัดทำเป็นแนวทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ของตน การจัดทำแนวทางการส่งเสริมคุณภาพการจัดการศึกษาของอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาจึงเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาอุดมศึกษาของไทยที่สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และแนวคิดการศึกษาไทย 4.0 จำเป็นต้องมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีเทคนิค แนวทาง และวิธีการในการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสม เป็นอาจารย์มืออาชีพที่เข้าใจในบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ ตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพอาจารย์ได้อย่างเหมาะสม (อ้างอิงจากแนวทางการส่งเสริมคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา)
URI: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6665
Appears in Collections:CMU-04. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับนานาชาติ)



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.