Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6897
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเอกชัย ดีศิริ สมชาย ล้อมพรม นายจีราวัฒน์ ฟักอ่อน และ ธนภัทร พรหมวัฒนภักดีth_TH
dc.date.accessioned2020-08-31T15:00:08Z-
dc.date.available2020-08-31T15:00:08Z-
dc.date.issued2563-08-26-
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6897-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาอุปกรณ์ของบันไดเลื่อน และหาแนวทางแก้ปัญหาที่ทำให้บันไดเลื่อนขัดข้องระหว่างการใช้งาน ซึ่งในการทำโครงงานแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือการวิเคราะห์หาสาเหตุของบันไดเลื่อนที่ขัดข้องระหว่างการใช้งานในด้านวิศวกรรมและได้ผลสรุป สาเหตุ มาจากระบบควบคุมของบันไดเลื่อน ซึ่งมีรีเลย์ 220 VAC และ 24VDC เป็นสาเหตุหลัก และส่วนที่ 2 เป็นการนำข้อมูลอุปกรณ์ที่เป็นสาเหตุทำให้บันไดเลื่อนขัดข้องระหว่างการใช้งาน มาหาแนวทางแก้ไข โดยการสร้างเครื่องวัดรีเลย์ จากการทดลองข้างต้น จึงนำเครื่องวัดรีเลย์ที่ออกแบบไปตรวจวัดรีเลย์ ในตู้ควบคุมบันไดเลื่อน ผลจากการวัดและวิเคราะห์รีเลย์ พบว่ามีการชำรุดของรีเลย์ สาเหตุของรีเลย์ชำรุด แบ่งออกเป็น 2 สาเหตุ คือชำรุดที่ขดลวดและชำรุดที่หน้าสัมผัสของรีเลย์ ซึ่งเกิดจากการใช้งานเป็นเวลานานมากกว่า 10 ปี ส่งผลให้ค่าของ ขดลวด และ หน้าสัมผัสของรีเลย์ มีค่าความต้านทานที่มากขึ้น จากการทดลองและบันทึก มีค่าความต้านทานเปลี่ยนแปลงไปจากค่าเดิม และแตกต่างกันในแต่ล่ะขาของหน้าสัมผัสของรีเลย์ และได้พบว่า หน้าสัมผัสของรีเลย์ ที่มีค่ามากกว่า 20 โอห์ม ถือว่ามีการเสื่อมสภาพหรืออาจจะยังใช้งานได้ แต่หากการทำงานของหน้าสัมผัสของรีเลย์ ที่ไม่เสถียร หรือชำรุดจนไม่สามารถใช้งานได้th_TH
dc.subjectสาเหตุที่ทำให้บันไดเลื่อนขัดข้องระหว่างการใช้งาน, ตรวจวัดรีเลย์, การชำรุดของรีเลย์th_TH
dc.titleการศึกษาและวิเคราะห์บันไดเลื่อนขัดข้องระหว่างการใช้งานth_TH
dc.title.alternativeการศึกษาและวิเคราะห์บันไดเลื่อนขัดข้องระหว่างการใช้งานth_TH
Appears in Collections:EGI-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ)



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.