กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/7245
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorผศ.ทัชชภร มหาแถลงth_TH
dc.date.accessioned2021-02-02T10:37:07Z-
dc.date.available2021-02-02T10:37:07Z-
dc.date.issued2563-12-28-
dc.identifier.citationกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล, ข้อมูลส่วนบุคคล, ข้อมูลชีวภาพ,Personal data protection law, Personal data, biometric informationth_TH
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/7245-
dc.description.abstractเนื่องจากปัจจุบันมีการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล โดยเฉพาะการจัดเก็บข้อมูลชีวมาตร ซึ่งมีผลมาจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล การเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลทาได้โดยง่าย สะดวก และรวดเร็ว อันมีผลกระทบต่อความมั่นคง และเศรษฐกิจโดยรวม ประเทศไทยจึงได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2560 ขึ้น เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์ กลไก หรือมาตรการกากับดูแลเกี่ยวกับการให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล อย่างไรก็ตาม กฎหมายฉบับนี้ยังมีประเด็นที่น่าศึกษาวิเคราะห์เพิ่มเติมในเรื่องของการเก็บรวมรวม ใช้ ประมวลผล และการส่งหรือโอนข้อมูลไปยังต่างประเทศ โดยได้ศึกษาเปรียบเทียบจากกฎหมายคุ้มครองส่วนบุคคลของต่างประเทศ ได้แก่ สหภาพยุโรป ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศแคนาดา และประเทศสหพันธรัฐเยอรมัน เพื่อนามาปรับปรุง แก้ไข หรือเพิ่มเติมบทบัญญัติกฎหมายของประทศไทย อันเป็นประโยชน์ด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น Nowadays, the violation of personal information causes damage to the information owners, especially the biometric data, because the advance technology made the acquire access and disclose of personal data easily. Due to mentional problem may affect Thailand’s national security and economy; therefore, the Government promulgated the Personal Data Protection Act 2017 to specify criteria, mechanisms, or regulatory measures regarding the protection of personal data. However, this Act still has some issues that should study further regarding the collection, usage, processing transmission, and or transferring of information to other countries. This study employed a comparative study of personal data protection laws of foreign countries such as the European Union, the United States of America, Canada, and Germany should in order to improve or amend the Thai law to become more efficient in the protection of personal data.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherวารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญth_TH
dc.subjectกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล, ข้อมูลส่วนบุคคล, ข้อมูลชีวภาพth_TH
dc.subjectPersonal data protection law, Personal data, biometric informationth_TH
dc.titleการคุ้มครองชีวมาตรภายใต้พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562th_TH
dc.title.alternativeฺBiometric Personal Data Protection Under Personal Data Protection Act B.E.2562th_TH
dc.typeArticleth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:LAW-02. บทความวิชาการ/วิจัย (วารสารระดับชาติ)
LAW-02. บทความวิชาการ/วิจัย (วารสารระดับชาติ)



รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น