Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/7425
Title: การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน : การตลาดเชิงประสบการณ์กับการสนับสนุนแบรนด์ของอุตสาหกรรมเครื่องสำอางในประเทศไทย
Other Titles: Confirmatory Factor Analysis: Experience Marketing and Brand Advocacy of the Cosmetics Industry in Thailand
Authors: ถิรวรรณ สกุลวงศ์สิริโชค
ณัฐสพันธ์ เผ่าพันธ์
Keywords: การตลาด
เชิงประสบการณ์
เครื่องสำอาง
Marketing
Experiential
Cosmetics
Issue Date: December-2563
Publisher: มหาวิทยาลัยศรีปทุม
Citation: ถิรวรรณ สกุลวงศ์สิริโชค และ ณัฐสพันธ์ เผ่าพันธ์. (2563). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน : การตลาดเชิงประสบการณ์กับการ สนับสนุนแบรนด์ของอุตสาหกรรมเครื่องสำอางในประเทศไทย. วารสารมหาจุฬาวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ 7 ฉบับที่ 3. เดือนกันยายน-ธันวาคม 2563. หน้า 126-141.
Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของแบบจำลองการตลาดเชิง ประสบการณ์กับการสนับสนุนแบรนด์ของอุตสาหกรรมเครื่องสำอางในประเทศไทย ดำเนินการทบทวน วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อออกแบบกรอบแนวคิด ผู้วิจัยได้ทำการสร้างเครื่องมือการวิจัยและพัฒนา เครื่องมือการวิจัยโดยการวิเคราะห์ความเที่ยงตรง ด้วยการทดสอบ IOC และการทำ Pre-test โดยการ เก็บข้อมูลจากกลุ่มที่ใกล้เคียงประชากรจำนวน ๓๐ ตัวอย่าง ผลการพัฒนาเครื่องมือพบว่าเป็นไปตามหลัก การวิจัยและมีค่า Cronbach’s alpha มากกว่า ๐.๘ ผู้วิจัยได้ทำการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ๔๔๐ ตัวอย่างจากผู้ประกอบการธุรกิจเครื่องสำอาง ผลการศึกษาพบว่า แบบจำลองการตลาดเชิงประสบการณ์ กับการสนับสนุนแบรนด์ของอุตสาหกรรมเครื่องสำอางในประเทศไทย ประกอบด้วยปัจจัยนำเข้า (Input) ที่เป็นตัวแปรแฝงภายนอก ได้แก่ การตลาดดิจิทัล การตลาดแบบเกม การตลาดแบบแรงดึงดูด และการ สร้างแบรนด์ที่จริงใจ และมีตัวแปรแฝงภายใน ได้แก่ การตลาดเชิงประสบการณ์ และการสนับสนุนแบรนด์ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน พบว่า ปัจจัยทั้งหมดมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ องค์ประกอบของแต่ละตัวแปร สามารถวัดประเมินตัวแปรได้อย่างเหมาะสม The study aims to confirmatory factor analysis of the experience marketing and brand advocacy of the cosmetics industry in Thailand by conducting a review of relevant literature to design the conceptual framework. The researcher created a research tool and developed by analyzing the accuracy by IOC and pre-test. The results of the development of the tool are in accordance with the research methodology had a Cronbach’s alpha value greater than 0.8. The researchers collected data from 440 samples as a cosmetic business entrepreneur. The result indicates that the experience marketing and brand advocacy of the cosmetics industry in Thailand. It consists of input factors that are exogenous variables such as digital marketing, gamification marketing, inbound marketing, brand authenticity and with endogenous variables, namely experience marketing and brand advocacy. The confirmatory factor analysis indicates that all factors were consistent with the empirical data. Elements of each variable are able to measure and evaluate variables appropriately.
Description: ถิรวรรณ สกุลวงศ์สิริโชค และ ณัฐสพันธ์ เผ่าพันธ์. (2563). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน : การตลาดเชิงประสบการณ์กับการ สนับสนุนแบรนด์ของอุตสาหกรรมเครื่องสำอางในประเทศไทย. วารสารมหาจุฬาวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ 7 ฉบับที่ 3. เดือนกันยายน-ธันวาคม 2563. หน้า 126-141.
URI: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/7425
Appears in Collections:GRA-02. บทความวิชาการ/วิจัย (วารสารระดับชาติ)



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

Admin Tools