Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8257
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวริสรา เลิศไพฑูรย์พันธ์th_TH
dc.contributor.authorสุรพันธ์ สันติยานนท์th_TH
dc.date.accessioned2022-05-18T06:42:45Z-
dc.date.available2022-05-18T06:42:45Z-
dc.date.issued2022-04-
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8257-
dc.description.abstractเศษวัสดุจากการก่อสร้างกลายเป็นขยะที่ส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม โดยพื้นที่ฝังกลบของประเทศไทยมีปริมาณขยะก่อสร้างอยู่ประมาณร้อยละ 30-40 ของพื้นที่ฝังกลบ และยังมีการลักลอบทิ้งอีกเป็นจำนวนมาก การลักลอบทิ้งด้วยตนเองในที่สาธารณะมีปริมาณถึงร้อยละ 85 ของขยะก่อสร้างในกรุงเทพมหานคร การลดปริมาณของเสียจากการก่อสร้างจะส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อม ต่อเจ้าของโครงการและผู้รับเหมาก่อสร้างที่จะลดต้นทุนการซื้อวัสดุและต้นทุนในการบริหารจัดการขยะ แต่ความพยายามลดปริมาณขยะก่อสร้างมักไม่ประสบผลสำเร็จเพราะการจัดการที่ผิดพลาดของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง การวิจัยนี้จึงจัดทำขึ้นเพื่อศึกษาถึงอิทธิพลของการเกิดขยะก่อสร้างภายในโครงการก่อสร้างอาคาร ที่สัมพันธ์กับกลุ่มผู้เกี่ยวข้องกับโครงการก่อสร้าง ได้แก่ ฝ่ายผู้ว่าจ้าง ฝ่ายผู้ออกแบบ ผู้ควบคุมงาน และฝ่ายผู้รับจ้าง โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม จากกลุ่มตัวอย่างรวม 100 คน และวิเคราะห์เส้นทางปัจจัย พบว่า อิทธิพลที่ส่งผลต่อการเกิดขยะในโครงการก่อสร้างสูงสุด มาจาก ฝ่ายผู้ควบคุมงาน (0.423) รองลงมาคือฝ่ายผู้ออกแบบ (0.268) และได้รับอิทธิพลทางอ้อม จาก ผู้ออกแบบ ผู้ว่าจ้าง และ ผู้ควบคุมงาน ที่ส่งผ่านทางผู้รับจ้างอีกด้วย (-0.123)th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectPath Analysisth_TH
dc.subjectFactors Effect Waste Generationth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดขยะก่อสร้างในโครงการก่อสร้างอาคาร: แนวทางการวิเคราะห์เส้นทางth_TH
dc.title.alternativeFactors Influencing Construction Waste Generation in Building Construction Project: A Path Analysis Approachth_TH
dc.typeArticleth_TH
Appears in Collections:EGI-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ)



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.