สถาปัตยกรรมยั่งยืนกับวัสดุพื้นถิ่น : รีสอร์ต ปกาเกอะญอ

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

วันที่

2565

ชื่อวารสาร

วารสาร ISSN

ชื่อหนังสือ

สำนักพิมพ์

Sripatum University

เชิงนามธรรม

วัสดุพื้นถิ่น พื้นที่ตั้ง ภูมิปัญญาเชิงช่าง ทั้ง 3 อย่างนี้จะนำไปประยุคใช้ในงานสถาปัตยกรรมได้อย่างไร จากการวิเคราะห์ที่ได้พื้นที่แต่ละที่มีความแตกต่างกันอย่างเช่น สงขลา เป็นกลุ่มคนที่อยู่ไม่ติดที่ สกลนคร เป็นแหล่งอุตสาหกรรมนาเกลือ ลำปาง เป็นกลุ่มคนอยู่ติดที่ ทำให้วัสดุที่นำมาใช้แตกต่างกัน สงขลา ทำจากวัสดุย่อยสลายได้ง่ายจำพวกใบตอง ใบไม้ สกลนคร ทำจากไม้จริงและดิน ในระแวกนั้นเพื่อความคงทน ลำปาง ทำจากวัสดุที่ทนแดดทนฝนอย่างไม่จริงกับไม้ไผ่ที่มีระยะเวลาการใช้งานที่นาน รวมถึงภูมิปัญญาเชิงช่างที่ต่างกัน สงขลา ใช้การวางใบไม้เป็นหลังคาแบบง่าย ๆ เพื่อกันแดดฝน สกลนคร ใช้การสารของไม้ไผ่และทาเครือบผนังด้วยดินเหนียวเพื่อกันกรดเกลือ ลำปาง ใช้ไม้จริงเป็นโครงสร้างหลัก ใช้ไม้ไผ่ขัดกันป็นฝากฝาไม้เพื่อทำเป็นผนังและพื้น

คำอธิบาย

เป็นวิทยานิพนธ์ หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ที่ผู้ทำวิจัยศึกษาสถาปัตยกรรมยั่งยืนกับวัสดุพื้นถิ่น : รีสอร์ต ปกาเกอะญอ

คำหลัก

ความยั่งยืน, สถาปัตยกรรมยั่งยืน, วัสดุพื้นถิ่น, สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น

การอ้างอิง

อำพร เกษตรนพกุล. 2563. "สถาปัตยกรรมยั่งยืนกับวัสดุพื้นถิ่น : รีสอร์ต ปกาเกอะญอ." วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.