การตีความสถาปัตยกรรมไทลื้อแบบร่วมสมัย : ศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรมไทลื้อจังหวัดน่าน

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

วันที่

2565

ชื่อวารสาร

วารสาร ISSN

ชื่อหนังสือ

สำนักพิมพ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

เชิงนามธรรม

สถาปัตยกรรมเดิมที่มีความงามเฉพาะและสถาปัตยกรรมรูปแบบใหม่ที่มีความทันสมัยเพื่อให้มีสถาปัตยกรรมที่อยู่ร่วมกันได้ จึงได้รวมสองประเด็นที่นำมาซึ่งห้วข้อการตีความสถาปัตยกรรมไทลื้อแบบร่วมสมัย ศึกษาสถาปัตยกรรมของชาวไทลื้อ ทั้งรูปทรง การจัดผัง การใช้งานและวัสดุของอาคาร จึงเกิดแนวความคิดกับคำว่า "ยืดหยุ่น" ของงานสถาปัตยกรรมไทลื้อที่มีการปรับเปลี่ยนได้ ทั้งการสร้าง การใช้งานอาคาร และวัสดุที่ใช้ในการสร้าง โดยนำมาถ่ายทอดในการออกแบบสถาปัตยกรรมแบบใหม่

คำอธิบาย

ตารางและรูปภาพประกอบ

คำหลัก

ไทลื้อ, เรือนไทลื้อ, วัสดุพื้นถิ่น

การอ้างอิง

ปราญชลี เมืองมูล. 2564. "การตีความสถาปัตยกรรมไทลื้อแบบร่วมสมัย : ศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรมไทลื้อจังหวัดน่าน." วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.