กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8561
ชื่อเรื่อง: การตีความสถาปัตยกรรมไทลื้อแบบร่วมสมัย : ศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรมไทลื้อจังหวัดน่าน
ชื่อเรื่องอื่นๆ: A CONTEMPORARY INTERPRETATION OF TAI LUE ARCHITECTURE TAI LUE CULTURAL LEARNING CENTER
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ปราญชลี เมืองมูล
คำสำคัญ: ไทลื้อ
เรือนไทลื้อ
วัสดุพื้นถิ่น
วันที่เผยแพร่: 2565
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยศรีปทุม
แหล่งอ้างอิง: ปราญชลี เมืองมูล. 2564. "การตีความสถาปัตยกรรมไทลื้อแบบร่วมสมัย : ศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรมไทลื้อจังหวัดน่าน." วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
บทคัดย่อ: สถาปัตยกรรมเดิมที่มีความงามเฉพาะและสถาปัตยกรรมรูปแบบใหม่ที่มีความทันสมัยเพื่อให้มีสถาปัตยกรรมที่อยู่ร่วมกันได้ จึงได้รวมสองประเด็นที่นำมาซึ่งห้วข้อการตีความสถาปัตยกรรมไทลื้อแบบร่วมสมัย ศึกษาสถาปัตยกรรมของชาวไทลื้อ ทั้งรูปทรง การจัดผัง การใช้งานและวัสดุของอาคาร จึงเกิดแนวความคิดกับคำว่า "ยืดหยุ่น" ของงานสถาปัตยกรรมไทลื้อที่มีการปรับเปลี่ยนได้ ทั้งการสร้าง การใช้งานอาคาร และวัสดุที่ใช้ในการสร้าง โดยนำมาถ่ายทอดในการออกแบบสถาปัตยกรรมแบบใหม่
รายละเอียด: ตารางและรูปภาพประกอบ
URI: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8561
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:08. ผลงานนักศึกษา

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
60026895 น.ส. ปราญชลี เมืองมูล 2022-01-14 COMPLETED.pdf34.29 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น