กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/9062
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธนญา หงสไกรth_TH
dc.contributor.authorวิชิต อู่อ้นth_TH
dc.date.accessioned2023-03-09T10:07:47Z-
dc.date.available2023-03-09T10:07:47Z-
dc.date.issued2022-12-
dc.identifier.citationธนญา หงสไกร, และ วิชิต อู่อ้น. (2565). ปัจจัยเชิงสาเหตุของจำนวนแรงงานที่เหมาะสมที่ส่งผลต่อ สมรรถนะขององค์กรสำหรับสถาบันอาชีวศึกษาเอกชน. วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา ปีที่ 12 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2565). หน้า 649-662.th_TH
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/9062-
dc.descriptionธนญา หงสไกร, และ วิชิต อู่อ้น. (2565). ปัจจัยเชิงสาเหตุของจำนวนแรงงานที่เหมาะสมที่ส่งผลต่อ สมรรถนะขององค์กรสำหรับสถาบันอาชีวศึกษาเอกชน. วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา ปีที่ 12 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2565). หน้า 649-662.th_TH
dc.description.abstractบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อจำนวนแรงงานที่เหมาะสม และสมรรถนะขององค์กรสำหรับสถาบันอาชีวศึกษาภาคเอกชน และ 2) สร้างแบบจำลองของปัจจัยเชิงสาเหตุ ของจำนวนแรงงานที่เหมาะสมที่ส่งผลต่อสมรรถนะขององค์กรสำหรับสถาบันอาชีวศึกษาภาคเอกชน การวิจัย ครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์และ แบบสอบถามออนไลน์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน ผลการวิจัย พบว่า 1) ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อจำนวนแรงงานที่เหมาะสมได้แก่ ปัจจัยด้านกลยุทธ์การจัดการทรัพยากร มนุษย์ ปัจจัยด้านการบริหารช่วงเวลาทำงาน ปัจจัยด้านแรงจูงใจการทำงานเป็นทีม ส่วนปัจจัยเชิงสาเหตุ ที่ส่งผลต่อสมรรถนะขององค์การ ได้แก่ ปัจจัยด้านกลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ปัจจัยด้านการบริหาร ช่วงเวลาทำงาน ปัจจัยด้านแรงจูงใจในการทำงานเป็นทีม 2) แบบจำลองของปัจจัยเชิงสาเหตุพบว่าจำนวน แรงงานที่เหมาะสมส่งผลต่อสมรรถนะขององค์กร ดังนั้น สถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษาสามารถจัดแผนการ พัฒนาในเรื่องของด้านกลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การบริหารช่วงเวลาทำงาน แรงจูงใจการทำงาน เป็นทีม เพื่อให้เจ้าของสถาบันการอาชีวศึกษาอื่นๆ สามารถระบุจำนวนแรงงานที่เหมาะสม และสามารถ กำหนดสมรรถนะขององค์กรได้ The objectives of this paper were to 1) study the causal factors affecting the optimal workforce and organizational performancefor vocational education institutes and 3) construct a model of the optimal force acting organizational performance for vocational education institutes. This research was qualitative and quantitative. The tools used for data collection were interview forms and online questionnaires. The statistics used in the data analysis were descriptive statistics and inferential statistics. The results revealed that 1) the causal factors affecting the optimal workforce were human resource management strategy, working time management and teamwork motivation factor. The causal factors affecting the organizational performance were human resource management strategy, working time management, and teamwork motivation factor. Therefore, vocational education institutions can organize development plans in terms of human resource management strategy, working time management, and teamwork motivation for owners of other vocational institutions and can identify the optimal workforce and determine the organizational performance.th_TH
dc.subjectการจัดการทรัพยากรมนุษย์th_TH
dc.subjectแรงจูงใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการทำงานเป็นทีมth_TH
dc.subjectสมรรถนะขององค์กรth_TH
dc.subjectHuman Resource Managementth_TH
dc.subjectMotivationth_TH
dc.subjectTeamworkth_TH
dc.subjectOrganizational Performanceth_TH
dc.titleปัจจัยเชิงสาเหตุของจำนวนแรงงานที่เหมาะสมที่ส่งผลต่อ สมรรถนะขององค์กรสำหรับสถาบันอาชีวศึกษาเอกชนth_TH
dc.title.alternativeCausal Factors of Optimal Workforce Affecting the Organizational Performance for Vocational Education Instituteth_TH
dc.typeArticleth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:GRA-02. บทความวิชาการ/วิจัย (วารสารระดับชาติ)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
ธนญา หงสไกร, วิชิต อู่อ้น.pdf2.15 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น

เครื่องมือสำหรับผู้ดูแลระบบ