Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/9116
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปริยา ศุภวงศ์th_TH
dc.contributor.authorPariya Subpavongth_TH
dc.date.accessioned2023-04-27T08:54:44Z-
dc.date.available2023-04-27T08:54:44Z-
dc.date.issued2023-03-24-
dc.identifier.citationปริยา ศุภวงศ์. (2566). แนวทางการเรียนการสอนเพื่อสอดแทรกพัฒนาความเมตตาตามแนวพระพุทธศาสนา. ในการประชุมวิชาการ(Proceedings) ครั้งที่ 18 (น.209) กรุงเทพฯ: สมาคมเครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย(ควอท), 2566.th_TH
dc.identifier.isbn978-616-93336-5-4-
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/9116-
dc.descriptionนำเสนอกระบวนวิธีพัฒนาความเมตตาแบบค่อยเป็นค่อยไปตามหลักพุทธศาสนา เพื่อลดปัญหาความรุนแรงทั้งที่แสดงออกมาทางกาย วาจา และใจ โดยนำมาสอดแทรกในกระบวนการเรียนการสอนซึ่งสามารถใช้ได้กับการสอนทุกระดับชั้นth_TH
dc.description.abstractโรคขาดความเมตตาของคนในยุคนี้เกิดขึ้นจากเทคโนโลยีที่แทรกซึมอยู่ในชีวิตประจำวันมากขึ้น ทำให้การสื่อสารปฏิสัมพันธ์กับคนจริงๆน้อยลง ประกอบกับสภาวะที่ต้องแข่งขันเอาตัวรอดตลอดเวลากำลังสร้างมนุษย์ในอนาคตที่ขาดความ เห็นอกเห็นใจ บทความนี้จึงเป็นการนำเสนอกระบวนวิธีพัฒนาความเมตตาแบบค่อยเป็นค่อยไปตามหลักพุทธศาสนา เพื่อลดปัญหาความรุนแรงทั้งที่แสดงออกมาทางกาย วาจา และใจ โดยนำมาสอดแทรกในกระบวนการเรียนการสอนซึ่งสามารถใช้ได้กับการสอนทุกระดับชั้น แนวทางการเรียนการสอนนี้แบ่งช่วงเวลาเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ตั้งเจตนาก่อนเริ่มกิจกรรม รวบรวมสมาธิให้ใจหยุดนิ่ง ให้ลมหายใจออกเป็นตัวเมตตา มีสติมั่นคง จิตอ่อนน้อมไปยังความสงบสันติ แล้วจึงเริ่มเข้าสู่กระบวนการเรียนรู้ที่เน้น การมีส่วนร่วม ส่วนที่ 2 ดำเนินกิจกรรมด้วยการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) ให้นักเรียนนักศึกษาได้ฝึกฝนทักษะการมีส่วนร่วมในสังคมด้วยหลักธรรมพรหมวิหาร4 และสังคหวัตถุ4 ในทุกสถานการณ์ของกิจกรรมการเรียนรู้ ทั้งเวลาที่เป็นปกติ เวลาที่เดือดร้อน หรือเวลาที่ต้องสร้างประโยชน์ ส่วนที่ 3 หลังจบกิจกรรมให้ตั้งเจตนาอีกครั้งรวบรวมสมาธิ ให้ใจหยุดนิ่งให้ลมหายใจออกเป็นตัวเมตตา มีสติมั่นคง จิตอ่อนน้อมไปยังความสงบสันติที่จะสังเกตการกระทำของผู้อื่น สัมผัสถึงความรู้สึกของผู้อื่น เพื่อพัฒนาความสามารถในการเข้าใจผู้อื่น และทั้งหมดคือขั้นตอนที่ต้องฝึกอย่างต่อเนื่องจึงจะสามารถ ยับยั้งความโกรธ ความเกลียด ความอิจฉาริษยา ความเสียใจ และการแก้แค้นได้ อุปนิสัยเมตตาจำเป็นต้องได้รับการฝึกฝนและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จึงจะช่วยให้การดำรงชีวิตมีทักษะพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องรวดเร็วในโลกศตวรรษที่ 21th_TH
dc.description.sponsorship-th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสมาคมเครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย(ควอท)th_TH
dc.subjectเมตตาth_TH
dc.subjectโรคขาดความเมตตาth_TH
dc.subjectเจริญเมตตาth_TH
dc.subjectพรหมวิหาร4th_TH
dc.subjectสังคหวัตถุ4th_TH
dc.titleแนวทางการเรียนการสอนเพื่อสอดแทรกพัฒนาความเมตตาตามแนวพระพุทธศาสนาth_TH
dc.title.alternativeInstructional Guidelines for interpolating the Development of Compassion according to Buddhismth_TH
dc.typeArticleth_TH
Appears in Collections:GEN-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pariya_Proceeding-18 ThaiPOD2566 25Mar2023-หน้า-198-205.pdf2.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.