Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/9189
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุขใจ พรมประสานสุขth_TH
dc.contributor.authorปริญญา มากสืบมีth_TH
dc.contributor.authorพีรัชชัย กระจ่างสดth_TH
dc.contributor.authorสุริพงษ์ ไทยเจริญth_TH
dc.contributor.authorอภิรักษ์ สวัสดิ์กิจth_TH
dc.date.accessioned2023-06-09T10:01:36Z-
dc.date.available2023-06-09T10:01:36Z-
dc.date.issued2565-10-27-
dc.identifier.isbn978-616-941-2809-
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/9189-
dc.description.abstractเกษตรกรรมในปัจจุบันได้มีการปรับเปลี่ยนจากในอดีต เนื่องจากการพัฒนาทางเทคโนโลยีมีความรุดหน้าไปอย่างรวดเร็ว การเลี้ยงสัตว์หรือการปลูกพืชในพื้นที่จากัด ซึ่งหมายความถึงการทาเกษตรกรรมในระดับครัวเรือน หรือมีพื้นที่ขนาดเล็ก ที่สามารถวางอุปกรณ์โรงเรือนขนาดเล็กที่ทางผู้วิจัยได้ศึกษาขนาดพื้นที่ 0.64 ตารางเมตร ความสูง 1 เมตร อย่างไรก็ตามโรงเรือนขนาดเล็กที่ทางผู้วิจัยได้สร้างยังคงใช้พลังงานไฟฟ้าของอุปกรณ์ต่าง ๆ ทั้งชุดสอบใช้กระแสไฟ 4.63 แอมแปร์ต่อวัน รวมใช้ปริมาณกระแสไฟฟ้า 70.40 ยูนิตต่อเดือน ซึ่งหากในระหว่างเดือนนั้น หากเกิดข้อผิดพลาดในการทางานของอุปกรณ์ควบคุมจะส่งผลต่อการทดสอบ ดังนั้นจึงได้มีแนวทางในการหาพลังงานสารองหรือพลังงานทดแทนเพื่อเป็นทางเลือกสาหรับการทดสอบโดยใช้แผ่นโซล่าเซลล์ขนาด 550 วัตต์ 48โวลต์, โซล่าชาร์ทเจอร์ รองรับกระแสไม่เกิน 60 แอมป์, อินเวอร์เตอร์ 24 โวลต์ 1500 วัตต์, แบตเตอรี่จานวน 2 ลูก 12 โวลต์ 100 แอมป์-ชั่วโมง ต่ออนุกรมเพื่อให้ได้แรงดันไฟ 24 โวลต์ 100 แอมป์-ชั่วโมง โดยติดตั้งเป็นแบบผสมโดยใช้สวิทซ์สลับแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ สาหรับการทดสอบนี้ พบว่า ในช่วงเวลากลางวันสามารถใช้พลังงานจากโซล่าเซลล์และพลังงานส่วนที่เหลือยังไปเก็บไว้ที่แหล่งสารองไฟในช่วงเวลากลางคืน จากการคานวณหากต้องการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ให้ครอบคลุมการทางานต้องเพิ่มแบตเตอรี่จากเดิม 2 ลูกเป็น 4 ลูก โดยต่อแบบขนาน เพื่อให้ได้แรงดัน 24 โวลต์ 200 แอมป์-ชั่วโมง และความคุ้มทุนจากการเปรียบเทียบค่าไฟฟ้าและราคาที่ได้จากไข่หน้าฟาร์ม สาหรับช่วงเวลาการทดสอบ 8 เดือน พบว่า การควบคุมอุณหภูมิชนิดสมดุลอุณหภูมิ (ภายในห้องทดสอบ) และการควบคุมอุณหภูมิชนิดไม่สมดุลอุณหภูมิ (ภายใต้สภาวะแวดล้อม) ได้มูลค่าไข่ตามค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(ไข่เบอร์ 3) คือ 4,963.20 และ 3,164.04 บาท สาหรับไก่ 4 ตัว ตามลาดับ และจากการคานวณจุดคุ้มทุนสามารถทาโดยการเพิ่มปริมาณไก่ไข่ จากเดิม 1 ตัว เป็น 8 ตัว จะทาให้ได้ทุนคืนภายในระยะเวลา 8 เดือน โดยงานวิจัยนี้ไม่ได้มีเจตนาในการทรมานสัตว์แต่อย่างใดth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherการประชุมวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทยครั้งที่ 15th_TH
dc.subjectการควบคุมแบบย้อนกลับth_TH
dc.subjectสมดุลอุณหภูมิth_TH
dc.subjectไม่สมดุลอุณหภูมิth_TH
dc.subjectไอโอทีth_TH
dc.subjectพลังงานทดแทนth_TH
dc.titleการศึกษาและเปรียบเทียบระบบพลังงานทดแทนเพื่อควบคุมโรงเลี้ยงไก่ไข่ขนาดเล็กชนิดสมดุลอุณหภูมิในระบบควบคุมแบบย้อนกลับและไม่สมดุลอุณหภูมิth_TH
dc.typeArticleth_TH
Appears in Collections:EGI-02. บทความวิชาการ/วิจัย (วารสารระดับชาติ)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
บทความวิชาการ 2565.pdf1.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.