ศิวาพัชญ์ บำรุงเศรษฐพงษ์, สวพร บุญญผลานันท์ และเกรียงไกร สัจจะหฤทัย2564-01-102021-01-102562-092350-9953https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/7174การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา หากน า OKRs มาใช้ในการบริหารงานด้านวิชาการจะช่วย ให้การบริหารงานนั้นส าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีมากยิ่งขึ้นเพราะ OKRs เป็นการตั้งวัตถุประสงค์ตามที่ ผู้อ านวยการโรงเรียนต้องการแก้ไขหรือพัฒนาคุณภาพในการจัดการเรียนการสอนของครู รวมถึงการพัฒนา คุณภาพทางการศึกษาของนักเรียนในแต่ละด้าน โดยหาวิธีการพัฒนา แก้ไขให้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ หากท าส าเร็จย่อมจะสามารถพัฒนาหลักสูตรและกระบวนเรียนรู้ตลอดจนการวัดผล ประเมินผล รวมทั้งการวัด ปัจจัยเกื้อหนุนการพัฒนาคุณภาพนักเรียน ชุมชนและท้องถิ่นได้อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ โดยจะ ส่งผลดีโดยตรงต่อตัวผู้เรียนที่จะได้พัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้น รวมถึงพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครู และ สะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการบริหารงานของผู้อ านวยการโรงเรียนอีกด้วยthการบริหารงานวิชาการ, Objectives & Key Results (OKRs)เรื่องการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาตามแนว OBJECTIVES & KEY RESULTS (OKRS)Article