กัลยา จันดาหาร2562-03-092019-03-092562-03-09https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6106บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรีวัตถุประสงค์ของการวิจัยในครั้งนี้คือ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของพนักงานขับรถและผู้โดยสารเกี่ยวกับปัจจัยที่ทาให้เกิดอุบัติเหตุด้วยรถตู้โดยสารประจาทางเส้นทางกรุงเทพฯ-พัทยา 2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของพนักงานขับรถและผู้โดยสารเกี่ยวกับแนวทางในการลดอุบัติเหตุของรถตู้โดยสารประจาทางเส้นทางกรุงเทพฯ–พัทยาและ 3) เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่ทาให้เกิดอุบัติเหตุและแนวทางในการลดอุบัติเหตุจาแนกตามลักษณะปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานขับรถและผู้โดยสารจานวน 134 คนโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบทีเทส ผลการวิจัย พบว่าพนักงานขับรถตู้โดยสารและผู้ใช้บริการรถตู้โดยสารมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่ทาให้เกิดอุบัติเหตุเรียงตามลาดับดังนี้ 1) ด้านสภาพถนน (xˉ=3.94, SD =0.81 ) 2) ด้านพนักงานขับรถ (xˉ=3.37, SD =0.99 ) และ 3) ด้านสภาพรถ (xˉ=2.84, SD =1.15 ) ส่วนแนวทางในการลดอุบัติเหตุพบว่ามีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน เรียงตามลาดับดังนี้ 1) ด้านสภาพถนน (xˉ=4.78, SD =0.48 ) 2) ด้านสภาพรถ (xˉ=4.79, SD =0.49 ) และด้านพนักงานขับรถ (xˉ=4.56, SD =0.64 ) ส่วนผลการเปรียบเทียบด้านประชากรศาสตร์ พบว่าพนักงานขับรถ/ผู้โดยสารจะมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่ทาให้เกิดอุบัติเหตุแตกต่างกัน นอกจากนี้พนักงานขับรถและผู้โดยสารยังมีความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางในการลดอุบัติเหตุแตกต่างกันthอุบัติเหตุการลดอุบัติเหตุรถตู้โดยสารประจำทางปัจจัยที่ทาให้เกิดอุบัติเหตุและแนวทางในการลดอุบัติเหตุของรถตู้โดยสารประจาทางเส้นทางกรุงเทพฯ-พัทยาCAUSES OF ACCIDENT AND ACCIDENT REDUCTION MEASURES OF PUBLIC VANS, BANGKOK-PATTAYA ROUTEThesis