พีรสา สลัยรัมย์2565-11-232022-11-232565พีรสา สลัยรัมย์. 2562. "สถาปัตยกรรม / ปฏิสัมพันธ์ / ปรากฎการณ์ธรรมชาติ : กรณีศึกษาลานกางเต้นท์ภูสอยดาว." วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8713เป็นวิทยานิพนธ์ หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ที่ผู้ทำวิจัยศึกษาสถาปัตยกรรม / ปฏิสัมพันธ์ / ปรากฎการณ์ธรรมชาติ : กรณีศึกษาลานกางเต้นท์ภูสอยดาวมนุษย์กับธรรมชาติมีความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นกันมานาน ธรรมชาติเป็นสิ่งที่มนุษย์ต้องการที่จะดำรงอยู่ มนุษย์จึงได้ปรับตัวและพัฒนารูปแบบ สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันหรือกับสิ่งต่าง ๆ รอบตัว เพื่อการเจริญเติบโตทางกายภาพและการเจริญเติบโตทางความคิด รวมทั้งในสิ่งแวดล้อมก็เช่นกันที่ได้สร้างลักษณะของปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน และมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตอื่น เพื่อการดำรงอยู่ของตน แต่ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น เมื่อมนุษย์มีจำนวนที่มากขึ้นและมีการพัฒนาเทคโนโลยีต่าง ๆ มากขึ้น ทำให้มีการเกิดการเปลี่ยนแปลงที่มีความรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ทำให้ธรรมชาติปรับสมดุลของตัวมันเองไม่ได้ ความเป็นอยู่ของมนุษย์และการเกิดปรากฏการณ์ต่าง ๆ เกิดความรุนแรงขึ้น ทำให้มีการเสียสมดุลระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติไป ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ที่เปลี่ยนแปลงของธรรมชาติthสถาปัตยกรรม / ปฏิสัมพันธ์ / ปรากฎการณ์ธรรมชาติ : กรณีศึกษาลานกางเต้นท์ภูสอยดาวARCHITECTURE / INTERACTS / NATURAL PHENOMENA : CASE STUDY PHU SOI DAO CAMPING AREAThesis