อรนิษฐ์ แสงทองสุข2565-12-012022-12-012565-06อรนิษฐ์ แสงทองสุข .(2565). รูปแบบการจัดการเรียนแบบผสมผสานที่มีผลต่อความพีงพอใจของนักศึกษาในรายวิชา MGT388 ศาสตร์และศิลป์ในการสื่อสารทางธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม. การประชุมวิชาการเพื่อนำเสนิผลงานระดับชาติ " นวัตกรรมวิทยาศาสตร์สุขภาพ และคุณภาพการศึกษาเชิงดิจิทัล กับการพัฒนาอย่างยั่งยืนในสังคมวิถีใหม่", 518-537https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8752การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษารูปแบบการจัดการเรียนแบบผสมผสาน และความพีงพอใจในการเรียนของนักศึกษา (2) เปรียบเทียบความพีงพอใจของนักศึกษา จำแนกตามสถานภาพส่วนบุคคล และ (3) เศึกษาอิทธิพลของรูปแบบการจัดการเรียนแบบผสมผสานที่มีต่อความพึงพอใจในการเรียนของนักศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจที่ลงทะเบียนในรายวิชา MGT388 ศาสตร์และศิลป์ในการสื่อสารทางธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ภาคการศึกษาที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2564 จำนวน 269 คน ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลจากการรวบรวมแบบสอบถามความคิดเห็นที่ได้รับทั้งหมด โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย โดยกำหนดระดับความมีนัยสำคัญ 0.05 ทั้งนี้สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าความถี่ และค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมประสิทธิ์สหสัมพันธืเพียรสันและการ วิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการจัดการเรียนแบบผสมผสาน และความพีงพอใจในการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาMGT388 ศาสตร์และศิลป์ในการสื่อสารทางธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุมอยู่ในระดับมาก สถานภาพส่วนบุคคลที่แตกต่างกันมีระดับความพึงพอใจในการเรียนของนักศึกษาแตกต่างกัน และรูปแบบการจัดการเรียนแบบผสมผสานมีอิทธิพลในระดับมากต่อความพีงพอใจของนักศึกษาthรูปแบบการจัดการเรียนแบบผสมผสานความพีงพอใจในการเรียนรูปแบบการจัดการเรียนแบบผสมผสานที่มีผลต่อความพีงพอใจของนักศึกษาในรายวิชา MGT388 ศาสตร์และศิลป์ในการสื่อสารทางธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุมBlended Learning Management Styles Affecting Students’ s Satisfaction in MGT388 Course Science and Arts in Business Communication at Sripatum UniversityArticle