พิทักษ์ แก้วเพ็ชร2565-11-012022-11-012565พิทักษ์ แก้วเพ็ชร. 2564. "การตีความพื้นที่ปฏิบัติธรรมสู่ สถาปัตยกรรมเจริญสติ : พื้นที่ภาวนา สติปัฏฐาน คนเมือง." วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8553ตารางและรูปภาพประกอบการปฏิบัติธรรม ในการความเชื่อทางพระพุทธศาสนาถือเป็นแนวทางที่นำไปสู่ความสุขที่เป้นนิรันดร์ ในปัจจุบัน การปฏิบัติธรรม กลับกลายเป็นสิ่งที่ใกล้ตัวจากคนรุ่นใหม่ สาเหตุหนึ่งนั้นมาจากการเข้าใจในความหมายของคำว่า ปฏิบัติธรรม บิดเบือนไปจากหลัก คำสอนของพระพุทธเจ้า และการเข้าถึงยากด้วยระเบียบและวิธีการ ในการปฏิบัติตนในสถานที่นั้นๆ จากการศึกษาประเด็นงานที่สนใจ ที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติธรรม และไลฟ์สไตล์ของคนรุ่นใหม่ ที่นำไปสู่ข้อสรุปของโครงการที่คนรุ่นใหม่สามารถเข้าถึงและเข้าใจความหมายของการปฏิบัติธรรม ได้โดยผ่าน space ที่ผ่านการตีความและให้ความหมายเชิงสัญลักษณ์ ที่สามารถรับรู้ด้วย ตา หู จมูก ผิวสัมผัสเพื่อง่ายต่อการสื่อสารต่อคนรุ่นใหม่ปฏิบัติธรรมสมาธิspaceคนรุ่นใหม่การตีความพื้นที่ปฏิบัติธรรมสู่ สถาปัตยกรรมเจริญสติ : พื้นที่ภาวนา สติปัฏฐาน คนเมืองINTERPRETATION OF DHARMA PRACTICE PLACE TOWARD MEDITATION ARCHITECTURE PRAYER PLACE, SATIPANNHANA, CITY RESIDENTSThesis