ผศ.นับทอง ทองใบ2565-12-252022-12-252565-10-27ชมพูเนกข์ ปึงศิริเจริญ. (2564) “อุตสาหกรรมเว็บตูนเกาหลีในไทย” สารนิพนธ์หลักสูตรปริญญาอักษรศาสตร บัณฑิต สาขาวิชาเอเชียศึกษา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ไทยพีบีเอส. (2565). "Lookism" Webtoon ชื่อดัง จ่อฉายเป็นซีรีส์แอนิเมชันใน Netflix” [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 19 กันยายน 2565, จาก: https://www.thaipbs.or.th/news/content/319877 ธนิตา หงส์สุวงศ์ . (2563). “กลยุทธ์การบริหารเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างลูกค้าผ่านสื่อออนไลน์ สำหรับ แพลตฟอร์มเว็บคอมมิค กรณีศึกษา LINE WEBTOON” การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรนิเทศศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารการตลาดดิจิทัล มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. นับทอง ทองใบ. (2563). ติ๊กต็อก สื่อบันเทิงขวัญใจเจเนอเรชัน Z. หนังสือประมวลบทความการประชุมวิชาการ ระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ครั้งที่ 15 ประจำปี 2563, วันที่ 18 ธันวาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 1059-1086. แฟนอาร์ตเรื่องนักสู้ทูปเบอร์ (2565). https://www.facebook.com/368517503250374/posts/2988999947868770/ ภัทรียา พัวพงศกร. (2565). Comic Revolution คุยกับ Hana Cha ผู้บริหาร WEBTOON ระดับ EURASIA ถึงการ เติบโตของดิจิทัล แพลตฟอร์มจากเกาหลีที่กลายเป็นบริษัทนานาชาติ [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 13 กันยายน 2564, จาก: https://readthecloud.co/hana-cha-webtoon/ Jang, W. and Song, J. (2017). “Webtoon as a New Korean Wave in the Process of Glocalization.” Kritika Kultura international electronic journal of literary, language, and cultural studies 29: 168-187. Retrieved September 22, 2022, from https://barnettcenter.osu.edu/sites/default/files/2019- 08/webtoon_as_a_new_korean_wave.pdf Jin, D. Y. (2019). “Snack Culture’s Dream of Big-Screen Culture: Korean Webtoons’ Transmedia Storytelling.” International Journal of Communication 13: 2094–2115. Retrieved September 17, 2022, from https://ijoc.org/index.php/ijoc/article/view/10004 Kanokjun Webtoon ซอฟต์พาวเวอร์เกาหลี ทำเงินเข้าประเทศหมื่นล้าน [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 18 กันยายน 2565, จาก: https://workpointtoday.com/webtoon-korea-soft-power/ Kaplan, A.M. & Haenlein, H. (2010). “User of the world, unite! The Challenges and opportunities of Social Media”. Business Horizons 53 (January-February 2010): 59-68. Positioning. (2565). โฆษณาที่คน Gen Z จะไม่กดข้าม! ‘LINE WEBTOON’ หมัดเด็ดของ “แบรนด์” เพื่อครองใจ คนรุ่นใหม่ [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 22 กันยายน 2565, จาก: https://positioningmag.com/1379582978-974-655-469-5https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8865บทความวิชาการที่ศึกษารูปแบบการใช้งาน และกลวิธีการสื่อสารเนื้อหาของ webtoon ในประเทศไทยบทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการใช้งาน และกลวิธีการสื่อสารเนื้อหาของเว็บตูน ผู้ให้บริการอ่านการ์ตูนออนไลน์จากเกาหลี ที่สามารถสร้างแพลตฟอร์มคอนเทนต์เพื่อความบันเทิงรูปแบบใหม่ และกำลังนิยมไปทั่วโลกรวมทั้งไทย โดยเว็บตูนมีลักษณะการอ่านที่ต่างจากการ์ตูนเล่มแบบเก่าคือเล่าเรื่องตามลำดับจากบนลงล่าง ไม่มีกรอบ เป็นภาพสี เพื่อรองรับการอ่านช่วงเวลาสั้นๆ ผ่านสมาร์ตโฟน และยังเป็นสื่อมัลติมีเดียที่ใช้ภาพเคลื่อนไหวเช่นแฟลชแอนิเมชัน มีเสียงดนตรีประกอบบางช่วงเหมือนชมภาพยนตร์สั้น ด้านเนื้อหามีแนวเรื่องที่หลากหลาย และมีตัวละครที่มีจุดร่วมกันคือกลุ่มคนขี้แพ้ในวัยเรียนและวัยทำงาน สิ่งสำคัญคือเว็บตูนมีพื้นที่โต้ตอบระหว่างผู้อ่านกับครีเอเตอร์ได้ทันทีในท้ายตอนเพื่อสร้างวัฒนธรรมแฟนที่แข็งแรงจนทำให้เกิดการกระตุ้นให้นักอ่านกลายเป็นครีเอเตอร์สร้างเรื่องราวสดใหม่ได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งช่วยต่อยอดข้ามสื่อ ไปสร้างคอนเทนต์บันเทิงรูปแบบอื่นเช่น ซีรีส์ ภาพยนตร์ เกม ทำให้เว็บตูนกลายเป็นซอฟต์พาวเวอร์ที่สร้างรายได้มหาศาลเสริมพลังให้กับคลื่นวัฒนธรรมเกาหลี This article aims to study the form of practice and strategies of content communication for Webtoon: the digital comic reading provider from Korea, creating a content platform for the new genre of entertainment, gaining more popularity around the world including Thailand. The distinctive features of Webtoon unlike the old style comic books are the format 's vertical scroll, full-colored and no frame, in order to serve the smartphone readers in a short period of time, as well as providing the multimedia using motion graphics or music like watching short films. In addition, Webtoon offers various contents but in the same time , mostly has the common point of loser in either school or working age character. More importantly, Webtoon provides an open communication area for simultaneous response between readers and creators after the episode end to build up so strong relationship of fandom culture that even motivate readers to become creators. This is helpful for continual fresh story creation to build on transmedia generating other forms of entertaining contents such as TV series, movie, game and etc., Consequently, Webtoon has become a soft power providing large revenue to reinforce K-Wave.thเว็บตูน, วัฒนธรรมจานด่วน, ดิจิทัลคอนเทนต์, คลื่นวัฒนธรรมเกาหลี, การเล่าเรื่องwebtoon, snack culture, digital content, Korean wave, storytellingเว็บตูน : เรื่องเล่าเพื่อความบันเทิงรูปแบบใหม่ในวัฒนธรรมจานด่วนWebtoon : new genre for story entertainment in snack cultureArticle