วราฤทธิ์, พานิชกิจโกศลกุล2551-03-012551-03-012550https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/853วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้เพื่อพยากรณ์ดัชนีราคาผู้บริโภครายเดือนของกรุงเทพมหานคร โดยเปรียบเทียบวิธีการพยากรณ์ 3 วิธี คือ วิธีการของบอกซ์-เจนกินส์ วิธีการของโฮลต์ และวิธีการพยากรณ์รวมโดยใช้การวิเคราะห์การถดถอย และเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการพยากรณ์ด้วยค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์ (Mean Absolute Percent Error: MAPE) ที่ต่ำที่สุด พบว่า วิธีการของโฮลต์เป็นวิธีการที่เหมาะสมกับลักษณะข้อมูลดัชนีราคาผู้บริโภครายเดือนของกรุงเทพมหานครมากที่สุดดัชนีราคาผู้บริโภคอนุกรมเวลาการพยากรณ์การพยากรณ์ดัชนีราคาผู้บริโภครายเดือนของกรุงเทพมหานคร:กรณีศึกษาเปรียบเทียบโดยวิธีการของบอกซ์-เจนกินส์ วิธีการของโฮลต์ และวิธีการพยากรณ์รวมFORECASTING OF MONTHLY CONSUMER PRICE INDEX OF BANGKOK: A COMPARATIVE STUDY OF BOX-JENKINS’ METHOD,HOLT’S METHOD, AND COMBINED FORECAST METHOD.Article