สุพัฒตรา ศรีญาณลักษณ์* และ กิติกลุ ปุณศรี2567-07-152024-07-152567-06-01https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/9811เฟอร์นิเจอร์เป็นส่วนสาคัญในการตกแต่งบ้าน และคอนโดมิเนียม โรงงานกรณีศึกษาเป็นโรงงานผลิต เฟอร์นิเจอร์ ซึ่งกระบวนการผลิต Line Gen มีหน้าที่ในการผลิตเฟอร์นิเจอร์ตัวอย่าง รวมถึงจัดการงานซ่อมต่างๆ และงานที่ถูกส่งกลับมาแก้ไข กระบวนการผลิตจะเน้นความรวดเร็วในการผลิต ปัจจุบันในกระบวนการผลิต Line Gen พบปัญหา มีงานส่งคืน (Return) และงานที่ถูกปฏิเสธ (Reject) ที่ผลิตเกิดความผิดพลาดในการกาหนดวันส่ง มอบ และการจัดเตรียมวัตถุดิบให้พร้อมสาหรับการผลิต รวมถึงไม่มีการประสานงานในแต่ละแผนกที่เกี่ยวข้องที่ ชัดเจน ทาให้งานที่ผลิตเสร็จเกินกาหนดส่งมอบ การผลิตเฟอร์นิเจอร์ส่งถึงมือลูกค้าเกิดความล่าช้า เพื่อการ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น งานวิจัยนี้ได้จัดทาระเบียบวิธีการปฏิบัติงาน (Work Instructions: WI) การจัดทาใบตรวจสอบ แผนลาดับการผลิต และวิเคราะห์กาลังการผลิต (Capacity) ผลลัพธ์ที่ได้พบว่า ก่อนปรับปรุงมีการผลิตงาน Return 80 งาน โดยมี 38 งานเกินกาหนดวันโอน คิดเป็น 47.5% และวันเกินกาหนดโอนเฉลี่ย 2.42 วัน หลังปรับปรุง งาน Return มี 68 งาน โดยมี 17 งานเกินกาหนดวันโอน คิดเป็น 25% และวันเกินกาหนดโอนลดลงเฉลี่ยเป็น 1.47 วัน ในกรณีของงาน Reject ก่อนปรับปรุงมีทั้งหมด 96 งาน โดยมี 77 งานเกินกาหนดวันโอน 80.2% และวันเกิน กาหนดโอนเฉลี่ย 4.56 วัน หลังปรับปรุง งาน Reject มี 98 งาน โดยมี 49 งานเกินกาหนดวันโอน คิดเป็น 50% และสามารถลดวันเกินกาหนดโอนลดลงเฉลี่ยเป็น 2.24 วันthการปรับปรุงวิธีการทางาน เฟอร์นิเจอร์ การวางแผนการผลิต เครื่องมือคุณภาพImproving the Production Process of Line Gen for Furniture ProductionArticle