ธนกฤต หงษ์ฤทัย2555-11-212555-11-212555-11-21ธนกฤต หงษ์ฤทัย. 2552. "มาตรการบังคับใช้สิทธิบัตรยา : กรณีศึกษาสิทธิบัตรยากับการคุ้มครองผลประโยชน์ของประเทศไทย." สารนิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/4169มาตรการบังคับใช้สิทธิบัตรยา(Compulsory Licensing) เกิดขึ้นในประเทศไทยครั้งแรกโดยนายแพทย์มงคล ณ สงขลา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขได้ตัดสินใจบังคับใช้สิทธิบัตรยามาตรา 51 ของพระราชบัญญัติ สิทธิบัตร พ.ศ. 2522 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2542 เจตนารมณ์คือต้องการให้ยามีราคาถูกลงและประชาชนเข้าถึงยาได้ง่ายขึ้น โดยเบื้องต้นได้ประกาศใช้สิทธิบัตรยาด้านไวรัสเอสไอวี ได้แก่ ยาเอฟาไวเรนซ์ (Effavirenz) และยาสูตรผสมระหว่างโลพินาเวียร์และแรโทนาเวียร์ (Lopinavir & Ritonavir) ที่จำหน่ายภายใต้เครื่องหมาย ยาโคลพิโดเกรล(Clopidogrel) ที่จำหน่ายในชื่อ พลาวิคซ์ (Plavix) แม้จะเป็นการใช้สิทธิโดยรัฐเพื่อสาธารณประโยชน์ที่มีวัตถุประสงค์เชิงพาณิชน์ (Public Non-Commercial Use) และสอดคล้องกับความตกลงทริปส์ (The Agreement on Trade-Related Aspects of Intellectual Property Rights) ขององค์การการค้าโลก (World Trade Organization- WTO) ข้อ 31 (b)สิทธิบัตรยากฎหมายมาตรการบังคับใช้สิทธิบัตรยา : กรณีศึกษาสิทธิบัตรยากับการคุ้มครองผลประโยชน์ของประเทศไทยThesis