ปิ่นอนงค์ พืชมงคล2560-08-022017-08-022559ปีการศึกษา 2559https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5338บทความ หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุมโดยสภาพการควบรวมกิจการและการโอนกิจการทั้งหมดให้แก่กันนั้น ต่างมีสาระสำคัญคือตัวสินทรัพย์ หนี้สิน สิทธิ หน้าที่ต่างๆ ที่จะถูกโอนไปยังอีกนิติบุคคลหนึ่งเหมือนกัน แตกต่างกันแต่เพียงว่าจะหลังการควบรวมกิจการจะมีการตั้งนิติบุคคลใหม่หรือไม่เท่านั้น ดังนั้นการที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 มิได้มีบทบัญญัติรองรับการควบรวมกิจการให้รวมถึงการควบรวมโดยโอนกิจการทั้งหมดให้แก่กันจึงอาจทำให้เกิดอุปสรรคในด้านต่างๆ เช่น ปัญหาเกี่ยวกับการโอนลูกหนี้กรณีที่เป็นการรวมกิจการโดยวิธีการโอนกิจการทั้งหมดให้แก่กันหรือที่เรียกว่า Merger การโอนลูกหนี้จะยังคงเป็นไปโดยอัตโนมัติเหมือนอย่างการควบรวมกิจการอย่าง Amalgamation หรือไม่ เนื่องจากไม่มีบทบัญญัติของกฎหมายกำหนดรองรับไว้ หรือปัญหาเกี่ยวกับการโอนเจ้าหนี้ในกรณีของการรวมกิจการอย่างการ Merger ที่เป็นการโอนกิจการหนึ่งให้แก่อีกกิจการหนึ่งโดยที่บริษัทผู้โอนกิจการนั้นจะสิ้นสภาพบุคคลไปนั้นthการควบรวมกิจการในการประกอบธุรกิจกฎหมายการแข่งขันทางการค้าปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการควบรวมกิจการในการประกอบธุรกิจLEGAL PROBLEMS ON MERGERS AND ACQUISTIONS CONCERNING BUSINESS OPERATIONArticle