ฐิติกา คนสูงดี2560-09-122017-09-122559ฐิติกา คนสูงดี. 2559. ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ : ศีกษากรณีการไม่กำหนดให้สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเป็นหน่วยงานของรัฐ.https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5351มหาวิทยาลัยศรีปทุมสารนิพนธ์นี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการใช้บังคับพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 กรณีเจ้าหน้าที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติกระทำละเมิด ซึ่งพระราชบัญญัติความ รับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 มาตรา 4 และพระราชกฤษฎีกากำหนดหน่วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2540 บทบัญญัติตามกฎหมายดังกล่าวไม่ได้มีการกำหนดให้สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติซึ่งถือว่าเป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 เป็นหน่วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ฯ จึงเกิดความไม่ชัดเจนหากมีเจ้าหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติกระทำละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่ ประเด็นปัญหานี้จึงควรนำมาศึกษา ค้นคว้า และวิเคราะห์ เพื่อค้นหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้เกิดความเหมาะสมต่อไปthการละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ : ศีกษากรณีการไม่กำหนดให้สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเป็นหน่วยงานของรัฐLEGAL PROBLEMS RELATING TO LIABILITY FOR A WRONGFUL ACT OF THE OFFICIALS: CASE STUDY OF NO PROVISION PROVIDING THE OFFICE OF NATIONAL COUNTER CORRUPTION COMMISSION AS STATE AGENCYArticle