สุบิน ยุระรัช, เกรียงไกร สัจจะหฤทัย, ศิริพร ทองแก้ว2024-04-052024-04-052567-01-02สุบิน ยุระรัช, เกรียงไกร สัจจะหฤทัย, ศิริพร ทองแก้ว. (2567). อริยสัจสี่และเอสอีเอ็ม. วารสารนวัตกรรมและการจัดการ, 9(1), 37-50.2697-6277http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/9728บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ คือ (1) เพื่ออธิบายแนวคิดของอริยสัจสี่และเอสอีเอ็ม (2) เพื่ออธิบายความเหมือนและความต่างของอริยสัจสี่และเอสอีเอ็ม และ (3) เพื่อเสนอแนวทางการประยุกต์ใช้อริยสัจสี่และเอสอีเอ็มในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ สาระสำคัญในบทความ ประกอบด้วย แนวคิดของอริยสัจสี่และเอสอีเอ็ม ความเหมือนและความต่างของอริยสัจสี่และเอสอีเอ็ม และแนวทางการประยุกต์ใช้อริยสัจสี่และเอสอีเอ็มในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ แนวคิดอริยสัจสี่เป็นหลักการทางพระพุทธศาสนาที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในงานวิจัยทางการศึกษา ส่วนเอสอีเอ็มเป็นเทคนิคการวิเคราะห์ทางสถิติขั้นสูง ทั้ง 2 แนวคิดมีความแตกต่างกันแต่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันในส่วนของการวิเคราะห์เหตุและผลที่สามารถนำมาบูรณาการและประยุกต์ใช้ในการออกแบบการวิจัยแบบผสมทางสังคมศาสตร์ได้ The three objectives of this academic paper are (1) to explain the concepts of Ariyasacca 4 ( the Four Noble Truths) and Structural Equation Model ( SEM) , ( 2) to explain the similarities and differences between Ariyasacca 4 and SEM, and (3) to propose the guidelines for applying Ariyasacca 4 and SEM in social science research. The main points in the article include the concepts of Ariyasacca 4 and SEM, the similarities and differences between Ariyasacca 4 and SEM, and the guidelines for applying Ariyasacca 4 and SEM in social science research. Ariyasacca 4 is a Buddhist principle that can be applied in educational research while SEM is an advanced statistical analysis technique. The two concepts are different but related in terms of cause- and- effect analysis that can be integrated and applied in the design of social science mixed-methods research.thอริยสัจสี่ เอสอีเอ็ม งานวิจัยทางสังคมศาสตร์Ariyasacca 4, SEM, Social Science Researchอริยสัจสี่และเอสอีเอ็มArticle