ภานุวัฒน์ สิทธิโชค2565-09-302022-09-302565-03-09ภานุวัฒน์ สิทธิโชค, การประชุมวิชาการ การอาชีพร้อยเอ็ดวิจัย ครั้งที่1 (ร้อยเอ็ด: วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด , 2565), 176-183.http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8469“จิตยึดกาย” แสดงออกถึงโครงสร้างพันธะผูกพันระหว่าง “กาย” กับ “จิต” เป็นโครงสร้างภาวะของมนุษย์ ที่ตอบรับปฏิกิริยาลักษณะเหนียวรั้ง สร้างพันธนาการจองจำ เสรีภาพจากภายในจิตวิญาณของความเป็นมนุษย์ ซึ่งแม้แต่ตนเองก็มิอาจหยุดยั้งสิ่งที่เกิดขึ้นจากความหิวที่ไม่รู้จบได้ จนเกิดความรู้สึกกดทับ แสดงออกด้วยการตอบโต้ที่รุนแรง หากมนุษย์ยอมรับว่าจิตตนเป็นอิสระและเป็นคนละส่วนกับร่างกายแล้ว มนุษย์ย่อมดำเนินชีวิตอยู่ในฐานะที่ใจเป็นอิสระโดยสมบูรณ์เหนือพันธนาการทางกายและอาจค้นพบตัวตนที่แท้จริงได้กาย, จิต, มนุษย์กระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรม “จิตยึดกาย”Book