จีรพรรณ โพธิ์ปาน และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุพัฒตรา ศรีญาณลักษณ์2564-01-082021-01-082563-07-02https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/7161บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกในการจัดการพลังงานของระบบแสงสว่างสาหรับ อาคารสานักงานปฏิบัติการของโครงการก่อสร้างที่มีระยะเวลานาน กรณีศึกษารถไฟฟ้ามหานครสายสีน้าเงิน ช่วง หัวลาโพง-บางแค และช่วงบางซื่อ-ท่าพระ โดยใช้หลักการวิเคราะห์ต้นทุนสัมฤทธิภาพ (Cost Effectiveness Analysis) ในการประเมินมูลค่าตัง้ ต้น และใช้หลักเกณฑ์คานวณผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อประเมินมูลค่า ปัจจุบันสุทธิ ระยะเวลาคืนทุนของโครงการ และอัตราผลตอบแทนของโครงการ เพื่อเปรียบเทียบทางเลือกระหว่าง การเปลี่ยนหลอดไฟฟ้าเป็นชนิดประหยัดพลังงานหรือหลอด LED กับคงใช้หลอดไฟฟ้าชนิดเดิม หรือหลอดฟลูออ เรสเซนต์ชนิด T8 โดยการวิเคราะห์ครอบคลุมพื้นที่ 3 บริเวณ คือ พื้นที่สานักงาน พื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ ภายนอก ผลการวิเคราะห์พบว่าการเปลี่ยนเป็นหลอด LED มีระยะเวลาการคืนทุนที่ 2.47 ปี สา หรับพื้นที่สา นักงาน 1.39 ปี สาหรับพื้นที่ส่วนกลาง และ 1.59 ปี สาหรับพื้นที่ภายนอก โดยที่ผลตอบแทนโครงการเมื่อคิดมูลค่าตาม ระยะเวลา 8 ปี ที่อัตราคิดลดร้อยละ 6.99 คิดเป็นจานวนเงิน 60,822.48 บาท และอัตราผลตอบแทนภายในอยู่ที่ 35.99% ซึ่งจากการวิเคราะห์พบว่ามีความคุ้มค่าต่อการลงทุนระบบแสงสว่างสานักงานปฏิบัติการสา หรับโครงการ ก่อสร้างที่มีระยะเวลานาน ทัง้ ยังเป็นการปฏิบัติตามนโยบายของรัฐบาลในการอนุรักษ์พลังงานอีกด้วยthการจัดการพลังงานในอาคารการประหยัดพลังงานระบบส่องสว่างหลอดไฟฟ้า LEDการวิเคราะห์ทางเลือกในการจัดการพลังงานของระบบส่องสว่างในอาคารที่ปรึกษาควบคุมงานก่อสร้าง กรณีศึกษา รถไฟฟ้ามหานครสายสีน้ำเงิน