นันทชัย ก่อกิจโรจน์2554-09-242554-09-242554-09-24https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/3062การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) ในรูปแบบของแบบสอบถาม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการนาระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2008 ไปใช้ในการปฏิบัติงานควบคุมงานก่อสร้าง ระหว่างเริ่มการก่อสร้างจนถึงส่งมอบงาน ของแต่ละระดับงานในการควบคุมงานก่อสร้างของทุกประเภทโครงการภายในบริษัท เทซ ลิมิเต็ด จากัด ซึ่งจากผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม มีความเห็นและความเข้าใจเกี่ยวกับการนาระบบควบคุมคุณภาพ ISO 9001:2008 ไปใช้ในการปฏิบัติงานควบคุมงานก่อสร้างไปใช้งาน ระหว่างเริ่มการก่อสร้างจนถึงส่งมอบงาน ของแต่ละระดับงานในการควบคุมงานก่อสร้างของทุกประเภทโครงการ อยู่ในเกณฑ์ที่มีการนาไปใช้งานมาก เนื่องจากในการก่อสร้างมีการประสานงานและมีการติดต่อสื่อสารในระหว่างการก่อสร้าง ดังนั้น เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการประสานงานจึงมีความสาคัญ โดยการที่ได้นาระบบควบคุมคุณภาพ ISO 9001:2008 ไปใช้ในการปฏิบัติงานควบคุมงานก่อสร้างจึงมีความสาคัญและเป็นประโยชน์ในการควบคุมงานก่อสร้างเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในส่วนของงานบริษัทวิศวกรที่ปรึกษางานก่อสร้าง ซึ่งต้องประสานงานกับทุกฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้องในโครงการก่อสร้าง อาทิเช่น ฝ่ายเจ้าของโครงการ ฝ่ายผู้ออกแบบ และฝ่ายผู้รับเหมาก่อสร้าง เป็นต้น และจากการศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบจากการนาระบบควบคุมคุณภาพ ISO 9001:2008 ไปใช้ในการปฏิบัติงานควบคุมงานก่อสร้าง ระหว่างเริ่มการก่อสร้างจนถึงส่งมอบงาน ของแต่ละระดับงานในการควบคุมงานก่อสร้างของทุกประเภทโครงการ พบว่า อยู่ในเกณฑ์ที่มีผลกระทบในการนาไปใช้งานปานกลาง เนื่องจากการนาระบบควบคุมคุณภาพ ISO II 9001:2008 ไปใช้ในการปฏิบัติงานควบคุมงานก่อสร้างนั้น จะมีระบบเอกสารต่างๆ จานวนมาก ซึ่งอาจส่งผลกระทบในการนาไปใช้หากผู้ที่นาไปใช้ขาดความรู้ความเข้าใจในระบบเอกสารควบคุมคุณภาพ ISO 9001:2008 และอาจขาดการแนะนาให้กับทางผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในโครงการก่อสร้างเข้าใจในระบบควบคุมคุณภาพ ISO 9001: 2008 แล้ว ก็จะมีผลกระทบต่อการนาไปใช้ในการควบคุมงานก่อสร้างคู่มือวิธีการปฏิบัติงานในหน่วยงานฉบับย่อ(Work Instructionระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2008การศึกษาการนำระบบควบคุมคุณภาพ ISO 9001:2008 ไปใช้ในการปฏิบัติงานควบคุมงานก่อสร้าง กรณีศึกษา บริษัท เทซ ลิมิเด็ด จำกัดSTUDY OF QUALITY CONTROL ISO 9001:2008 FOR CONSTRUCTION SUPERVISION A CASE STUDY:TACE LIMITEDOther