ปิยะพงษ์ ธรรมรักษ์, ผุสดี กลิ่นเกษร.2565-08-292022-08-292565-10-18https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8382การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกบั การเรี ยนรู้แบบไมโครเลิร์นนิ่ง (2) เพื่อเปรี ยบเทียบระดับความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรี ยนก่อนเรียนและ หลังเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกบการเรียนรู้แบบไมโครเลิร์นนิ ั ่ ง เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับการเรียนรู้แบบไมโครเลิร์นนิ่ง จํานวน 5 แผน มีคุณภาพอยู่ในระดับ มากที่สุด แบบประเมินสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ท้ายคาบโดยนักเรียน และแบบทดสอบวัดความฉลาดทางดิจิทัล มีค่าความเชื่อมันที่ ่ 0.79 กลุ่มตัวอยาง คือ นักเรียนชั ่ ้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล จังหวัดสกลนคร จํานวน 160 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วย สถิติค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที แบบ dependent samples ผลการศึกษาวิจัยพบวา ( ่ 1) การจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกบการเรียนรู้ ั แบบไมโครเลิร์น นิ่ง มี 6 องค์ประกอบ คือ การกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ การวางแผนลําดับเนื ํ ้อหาการสอน การทําวิดีโอ การสอนหรื อแหล่งข้อมูลสืบค้น การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง การทํากิจกรรมในห้องเรี ยน และการวัด ประเมินผล (2) ระดับความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกบั การเรียนรู้แบบไมโครเลิร์นนิ่ ง สูงกวาก่ ่อนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ . ่ 05thความฉลาดทางดิจิทัล, การเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน, การเรียนรู้แบบไมโครเลิร์นนิ่ งการพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล โดยการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน ร่วมกับการเรียนรู้แบบไมโครเลิร์นนิ่ง.Article