ธนัทพัชร์ อยู่โต, ผุสดี กลิ่นเกษร.2565-08-292022-08-292564-10-18https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8380การวิจัยครั้งนี้เป็ นรูปแบบการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อพัฒนานิทานแอนิ-เมชัน่ เป็ น สื่อจัดการเรี ยนรู้ในการส่งเสริ มความสามาสามารถด้านการฟังและการพูด 2) เพื่อศึกษาและเปรี ยบเทียบ ความสามารถในการฟังและการพูดโดยใช้นิทานแอนิเมชัน่ จัดการเรียนรู้ ก่อนการทดลองและหลังการทดลองของ เด็กปฐมวัย กลุ่มตัวอยางที่ใช้ในการวิจัย คือ เด็กนักเรียนปฐมวัย สังก ่ ดองค์กรปกครองส ั ่วนท้องถิ่ น อําเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี จํานวน 20คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติค่าเฉลี่ย ส่วนค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ ดัชนี ประสิทธิผล และสถิติในการทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัยพบวา ่ 1) ได้พัฒนานิทานแอนิเมชัน่ จัดการเรียนรู้เพื่อ ส่งเสริมความสามารถด้านการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัยซึ่งผลรวมความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อนิทาน แอนิเมชันทุกด้านล้วนมีความเหมาะสมและเห็นด้วยอยู ่ ในระดับมากที่สุด และผลการวิเคราะห์หาประสิทธิผลของ ่ การจัดใช้นิทานแอนิเมชันเป็ นสื่อจัดการเรียนรู้ เพื่อส ่ ่งเสริมความสามารถด้านการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัย จํานวน 20 คน มีค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากบ ั 0.8531 แสดงวานักเรียนมีความรู้เพิ ่ ่ มขึ้น 0.8531 หรือคิดเป็ นร้อยละ 85.31 2) ผลการทดลองใช้นิทานแอนิเมชันเป็ นสื่อจัดการเรียนรู้ เพื่อส ่ ่งเสริมความสามารถด้านการฟังและการพูด ของเด็กปฐมวัย ค่าเฉลี่ยโดยรวมของคะแนนความสามารถในการฟังและการพูดของเด็กนักเรียนหลังการใช้นิทาน แอนิเมชันเป็ นสื่อจัดการเรียนรู้มีค ่ ่าเฉลี่ยเท่ากบ ั 18.70 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากบ ั 1.03 คิดเป็ นร้อยละ 93.5 อยูในระดับ ดีมาก และผ ่ านเกณฑ์ที่ก ่ าหนด ํ และผลการทดลองที่ได้รับการจัดประสบการณ์โดยการใช้นิทานแอนิเมชัน่ เป็ นสื่อจัดการเรียนรู้ หลังเรียนสูงกวาก่ ่อนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ . ่ 05thการพัฒนานิทานแอนิเมชั่นเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัย สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี.Article