Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/1638
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธนภัทร พรหมวัฒนภักดี-
dc.date.accessioned2553-01-26T06:26:28Z-
dc.date.available2553-01-26T06:26:28Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/1638-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการออกแบบและจัดสร้างเครื่องติดตามรังสีดวงอาทิตย์เชิงดิจิตอลแบบปรับองศาได้ ซึ่งมีการออกแบบให้ติดตามดวงอาทิตย์ โดยมีการเคลื่อนที่สองแนวแกน คือแนวอัลติจูดและแนวอะซิมุธ ซึ่งใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุมการทำงานของมอเตอร์กระแสตรงเพื่อเปลี่ยนตำแหน่งของแผงโซลาร์เซลล์ ใช้หลักการบังเงาของฉากกั้นมีโฟโต้ทรานซิสเตอร์เป็นตัวตรวจจับรังสีตรงดวงอาทิตย์ อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม จากการทดสอบการทำงานพบว่าการติดตามดวงอาทิตย์เป็นไปตามที่ได้ออกแบบไว้ ในส่วนของการทดสอบเพื่อหาค่ากำลังไฟฟ้าที่แผงโซลาร์เซลล์ได้รับพบว่าการติดตามดวงอาทิตย์ทุกๆช่วง 15 องศา ให้กำลังไฟฟ้าดีกว่าการติดตามทุกๆ ช่วง 30 และ45 องศา และเมื่อทำการเปรียบเทียบพลังงานที่ผลิตได้ระหว่างการติดตามดวงอาทิตย์ทุกๆ 15 องศาและการติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์แบบอยู่กับที่พบว่า ที่แผงขนาด 5 Wp ให้พลังงานไฟฟ้าเพิ่มขึ้น16.91 % ที่แผงขนาด 30 Wp ให้พลังงานไฟฟ้าเพิ่มขึ้น 18.85 % และที่แผงขนาด 50 Wp ให้พลังงานไฟฟ้าเพิ่มขึ้น 15.52 %en_US
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนงานวิจัยสำหรับบุคลากรภายใน ปีการศึกษา 2551 ครั้งที่ 1en_US
dc.subjectแผงรับรังสีแสงอาทิตย์en_US
dc.subjectเครื่องติดตามดวงอาทิตย์en_US
dc.subjectอัลติจูดen_US
dc.subjectอะซิมุธen_US
dc.titleการเพิ่มประสิทธิภาพแผงรับรังสีแสงอาทิตย์โดยการติดตามตำแหน่งดวงอาทิตย์เชิงดิจิตอลen_US
dc.title.alternativeThe Efficiency Improvement of Solar Cell Using Digital Sun’s Position Sensoren_US
Appears in Collections:รายงานการวิจัยมหาวิทยาลัยศรีปทุม

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
51 อ.ธนภัทร.pdfรายงานวิจัย4.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.