Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/4824
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชัยวัฒน์ สุขนาคกิจen_US
dc.contributor.authorนพัตธร ยันเยี่ยมen_US
dc.contributor.authorคมสันต์ ม่วงสุขen_US
dc.date.accessioned2017-02-14T05:57:24Z-
dc.date.available2017-02-14T05:57:24Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.citationชัยวัฒน์ สุขนาคกิจ, นพัตธร ยันเยี่ยม, และคมสันต์ ม่วงสุข. 2554. "ชุดปฏิบัติการทดลองอัตราโซนิกและเพียโซ." ผลงานนักศึกษาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/4824-
dc.descriptionหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.description.abstractโครงงานเป็นศึกษาเกี่ยวกับการส่งสัญญาณเสียงในรูปแบบของความถี่ต่างๆที่ได้จากชุดทดลอง เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ในการส่งคลื่นเสียงไปในอากาศที่ความถี่ตั้งแต่ 40 กิโลเฮิรตซ์ ขึ้นไปเกินกว่าเสียงที่มนุษย์จะได้ยินลักษณะพิเศษของคลื่น อัลตราโซนิก คือ การมีทิศทางที่แน่นอน การสร้างชุดทดลองนี้ เพื่อให้พบกับการเปลี่ยนแรงดันไปเป็นความถี่ในฝั่งส่งและการเปลี่ยนจากความถี่ไปเป็นแรงดันในฝั่งรับส่วนชุดเพียโซเป็นการทดลองแบบเปลี่ยนจากพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้าโดยใช้ หลักการสั่นสะเทือนของเพียโซ ทั้งนี้เนื่องมาจากชุดทดลองที่มี การทดลองเรื่องของอัลตราโซนิกและเพียโซนั้น มีหลายใบงานประกอบด้วย 1. การทดลองอัลตราโซนิกเบื้องต้น 2. การทดลองหาความถี่อัลตราโซนิก 3. การทดลองการส่งสัญญาณ 4.การทดลองอัลตราโซนิกเซนเซอร์ 5. การทดลองการส่งสัญญาณกับวัตถุต่างๆ 6. การทดลองหาความถี่เพียโซ 7. การทดลองการสั่นสะเทือน ในการทดลองแต่ละใบงานต้องทำความรู้จักก่อนว่าการส่งสัญญาณเป็นเช่นไร และอุปกรณ์ในการทดลองมีการใช้งานอย่างไร โดยชุดของอัลตราโซนิกแต่ละชุดก็จะใช้ IC 555 เป็นตัวสร้างความถี่ออกมาโดยทีหาวัตถุมาตรวจจับ เพื่อให้อัลตราโซนิกที่ส่งสัญญาณไปแล้วสะท้อนกลับมาในฝั่งรับเท่านี้เราก็สามารถที่จะศึกษาการทำงานได้แล้วส่วนเพียโซนั้นเป็นการแปลงจากพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้าโดยเกิดจากการสั่นที่ตัวลำโพงเพียโซเป็นจังหวะๆออกมาในรูปของรูปคลื่นที่มีการสั่นไหวเป็นช่วงๆ โดยที่แต่ละใบงานต้องทำการศึกษาทฤษฎีประกอบกับการทดลอง เพื่อความเข้าใจไปควบคู่กันจะได้ทราบถึงทฤษฎีและปฏิบัติว่าการเกิดคลื่นเสียงและเสียงที่มนุษย์ไม่ได้ยินมีความถี่สูงขนาดเท่าไรจากออสซิลโลสโคปen_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.relation.ispartofseries54EE215en_US
dc.subjectคลื่นอัลตราโซนิกen_US
dc.subjectคลื่นเสียงen_US
dc.titleชุดปฎิบัติการทดลองอัลตราโซนิกและเพียโซen_US
dc.title.alternativeThe Series of Experiments Perform Ultrasonic and Piezoelectricen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:EGI-08. ผลงานนักศึกษา



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.