กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5024
ชื่อเรื่อง: โครงการปรับปรุงโรงงานเซรามิคเถ้าฮงไถ่
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Improvement of Thao Hong Thai Ceramic Factory
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: จีรนันท์ ดอนจิ๋วไพร
คำสำคัญ: เครื่องปั้นดินเผาไทย
จังหวัดราชบุรี
การปั้นโอ่งมังกรจังหวัดราชบุรี
โรงงานเซรามิคเถ้าฮงไถ่
เทคนิคการออกแบบนิทรรศการ
วันที่เผยแพร่: 2559
สำนักพิมพ์: หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
แหล่งอ้างอิง: จีรนันท์ ดอนจิ๋วไพร. 2559. "โครงการปรับปรุงโรงงานเซรามิคเถ้าฮงไถ่." ผลงานนักศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
หมายเลขชุด/รายงาน: 55008574_จีรนันท์ ดอนจิ๋วไพร
บทคัดย่อ: โครงการวิทยานิพนธ์มีการมุ่งเน้นถึงการสื่อสานทางด้านสถาปัตยกรรมที่ช่วยกระตุ้นให้คนได้รับรู้ถึงวิถีชีวิตและวัฒนธรรม ผลิตภัณฑ์ของราชบุรี ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าอย่างมากในอดีตให้กลับมามีความสำคัญขึ้นอีกครั้ง ในการทำโครงการนี้ขี้นมาเพื่อตอบสนองต่อผู้คนแถวราชบุรีและชาวบ้านให้เกิดการมีอาชีพและมีรายได้เพิ่ม ด้วยเหตุนี้จึงสมควรที่จะพัฒนาโรงงานโอ่งมังกรให้เป็นทั้งแหล่งรวบรวมข้อมูลและให้ความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์และการลงมือทดลองในการเรียนรู้การปั้นโอ่งมังกรให้ถูกต้องตามหลักความเป็นจริง การจัดนิทรรศการต่างๆของเซรามิคใหม่ๆ รูปทรงใหม่ๆ รูปแบบมังกรแต่ละยุคที่เปลี่ยนไป เพื่อนำเสนอแก่ประชาชนและผู้คน นักท่องเที่ยวได้สัมผัสถึงวิถีชีวิตที่แท้จริง ดังนั้นจึงเกิดการปรับปรุงโรงงานเซรามิคเถ้าฮงไถ่ขึ้นมาเพื่อตอบสนองต่อยุคปัจจุบันและยังคง โอ่งมังกรต้นกำเนิดของอดีตนั้นๆไว้ไม่ให้สูญหายไป เพราะโรงงานเซรามิคเถ้าฮงไถ่เป็นต้น กำเนิดของการผลิตโอ่งมังกรในที่แรกของราชบุรีและมีประวัติศาสตร์ แต่ขาดการกระจายให้ ความรู้ การสัมผัส แหล่งรวบรวมข้อมูล อดีตจนถึงปัจจุบันส่งเสริมการท่องเที่ยวการศึกษาต่อ ประชาชนที่เข้ามา จากการออกแบบโครงการแนวคิดในการออกแบบคือการใช้วัฒนธรรมรวมกับวัสดุของพื้นถิ่น การใช้ระยะเวลาของอดีตจนถึงปัจจุบันมาใช้ในการออกแบบทางสถาปัตยกรรมในด้านทางความรู้สึกและการสัมผัส การเล่าวิถีชีวิตของคนโอ่งมังกร การเปิดโชว์โครงสร้างเป็นบางส่วนในการที่ต้องใช้แสงธรรมชาติเข้ามาช่วยในการแสดงงานเซรามิค การใช้หลังคาที่สื่อสานถึงจีนเพราะจีนได้มีการนำสัตว์ชั้น สูงมาเป็นลวดลายของโอ่ง คือ มังกร และวัสดุที่เหมาะสมกับอาคารในโรงงานแห่งใหม่ การแบ่งฟังก์ชั่น ของโรงงานนี้จะมี 3 ส่วน คือ ส่วนโรงงาน ส่วนแกลลอรี่ และส่วนการเรียนรู้ โดยทั้ง 3 อย่างนี้จะเปิดให้ผู้คนสามารถได้เข้าไปใช้และทดลองสัมผัสได้ถึงกระบวนการผลิต ให้เกิดการเรียนรู้และยังคงโอ่งมังกรนั้นไม่ให้สูญหายไปให้ผู้คนสามารถมีส่วนร่วมในขั้นตอนการทา และได้รับรู้ประวัติที่มาต้นกำเนิดในการเกิดโอ่งมังกรในจังหวัดราชบุรี
URI: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5024
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:ARC-08. ผลงานนักศึกษา

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
TH_55008574_Jeranun_Donjewprai.pdf14.44 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น