กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5816
ชื่อเรื่อง: การประยุกต์ใช้การระบายอากาศเชิงกลแบบธรรมชาติในอาคารพักอาศัยรวม
ชื่อเรื่องอื่นๆ: AN APPLICATION OF STACK EFFECT DESIGN IN MULTI-STOREY HOUSING PROJECT
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ณัฐพงษ์ ตงคำ
คำสำคัญ: Comfort Zone
สถาปัตยกรรมสมัยใหม่
Modern Architecture
ทฤษฎีภาวะน่าสบาย
Ventilation
วันที่เผยแพร่: 2560
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยศรีปทุม
แหล่งอ้างอิง: ณัฐพงษ์ ตงคำ. 2560. "การประยุกต์ใช้การระบายอากาศเชิงกลแบบธรรมชาติในอาคารพักอาศัยรวม." ผลงานนักศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
หมายเลขชุด/รายงาน: SPU_ณัฐพงษ์ ตงคำ_2560
บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีในการออกแบบอาคารทางสถาปัตยกรรมที่ตอบสนองต่อบริบทโดยรอบของเมืองที่มี ความหนาแน่นของอาคารทั้งขนาดเล็กและใหญ่ที่ส่งผลกระทบต่อการเดินทางของอากาศ ทิศ ทางกระแสลม ถูกบดบังเสียดทาน และหักเหไปจากทิศทางโดยธรรมชาติ แนวความคิดในการออกแบบคือ การคำนึงถึง ลักษณะของรูปทรง รูปแบบการวางผังการกำหนดช่องเปิดช่องปิดของอาคาร อัตราส่วนของช่องเปิดช่องปิดของอาคาร ตำแหน่งของช่องเปิดช่องปิดของอาคาร การออกแบบที่ดักลมเพื่อ ควบคุมลมหรืออากาศให้ไหลผ่าน เพื่อที่จะตอบสนองต่อการไหลผ่านและไหลเวียนของอากาศที่สอดคล้องกับพฤติกรรมในการใช้ที่ว่างนั้น ๆ และคำนึงถึงการนำเอาทฤษฎีที เกียวข้อง(Cross Ventilation& Stack Ventilation) มาใช้ให้เหมาะสม โดยใช้เงื่อนไขในเรื่องของความหนาแน่ของเมืองที่มีความหนาแน่นนั้นทำให้ขวางกั้น และหักเหทิศทางของกระแสลมหลักโดยธรรมชาติเปลี่ยนไป และองศาของลมที่กระทำ ต่อตัวอาคารสถาปัตยกรรม หรือ ในกรณีช่วงเวลาที่กระแสลมไม่ไหลผ่านตัวอาคาร และเลือกใช้ระบบของช่องเปิดช่องปิดของอาคารสถาปัตยกรรม ตามที่ศึกษาจากข้อมูล งานวิจัย และทฤษฎีที่มาใช่ในการออกแบบระบบอาคารให้สอดคล้องต่อบริบทในเงื่อนไขดังกล่าวที่เหมาะสมต่อพฤติกรรมการใช้ที่ว่างนั้นๆ
รายละเอียด: สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
URI: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5816
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:ARC-08. ผลงานนักศึกษา

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
55034158_ณัฐพงษ์_ตงคำ.pdf22.63 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น