Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6056
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอุษณี แสงวัฒนากุลen_US
dc.date.accessioned2019-03-08T04:28:12Z-
dc.date.available2019-03-08T04:28:12Z-
dc.date.issued2562-03-08-
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6056-
dc.descriptionนิติศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรีen_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาปัญหาและอุปสรรคทางกฎหมายในการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษของจังหวัดเชียงใหม่ ในการกาหนดโครงสร้างการบริหารราชการโดยให้มีราชการส่วนกลางกับราชการส่วนท้องถิ่นให้ยกเลิกราชการส่วนภูมิภาคและยังกาหนดให้มีสภาพลเมืองเพื่อกาหนดทิศทางในการบริหารราชการและตรวจสอบการทางานของข้าราชการการเมืองและข้าราชการประจา ทั้งนี้ยังมีอานาจออกข้อบัญญัติเพื่อจัดเก็บภาษีและจัดทางบประมาณ รวมทั้งดาเนินกิจการตารวจเอง จากการศึกษาพบว่า จังหวัดเชียงใหม่มหานครได้กาหนดให้มีผู้ว่าราชการเชียงใหม่มหานครจะต้องบริหารราชการภายใต้ควบคุมของนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี ซึ่งไม่เป็นไปตามหลักการกระจายอานาจที่ผู้ว่าราชการเชียงใหม่มหานครจะต้องบริหารงานได้โดยอิสระปราศจากการควบคุมบังคับบัญชาจากราชการส่วนกลางตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 281 ประกอบมาตรา 282 ที่กาหนดให้ท้องถิ่นใดที่ปกครองตนเองได้ย่อมมีสิทธิจัดตั้งเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้และจะต้องกากับดูแลตามความจาเป็นโดยไม่ผ่านราชการส่วนภูมิภาคและยังพบว่าได้จัดตั้งสภาพลเมืองโดยสรรหาจากกลุ่มบุคคลโดยการเลือกสรรกันเองในพื้นที่และอานาจในการออกข้อบัญญัติเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจากผู้ใช้หรือผู้ได้รับประโยชน์ในการรับบริการสาธารณะพบว่าผู้ว่าเชียงใหม่มหานครไม่มีอานาจในการให้ความเห็นชอบในการออกข้อบัญญัติซึ่งไม่เป็นไปตามทฤษฎีการกระจายอานาจเช่นเดียวกันและยังกาหนดให้เชียงใหม่มหานครมีอานาจในการดาเนินกิจการตารวจเองโดยไม่ถูกตรวจสอบจากราชการส่วนกลางจึงก่อให้เกิดปัญหาตารวจอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของผู้ว่าราชการเชียงใหม่มหานครที่เป็นข้าราชการการเมืองจึงปราศจากการตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายในการใช้อานาจทาให้การดาเนินงานของตารวจขาดความเป็นกลาง จากการศึกษาขอเสนอแนะว่า เชียงใหม่มหานคร ควรมีอานาจบริหารราชการเองตามหลักความเป็นอิสระจากราชการส่วนกลางตามความมุ่งหมายโดยให้มีหลักการตรวจสอบการใช้อานาจจากผู้ตรวจการเช่นเดียวกับหลักกฎหมายของญี่ปุ่นกับสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ให้มีอิสระในการบริหารงานแต่ต้องอยู่ภายใต้การตรวจสอบในด้านการบริหาร การเงินและงบประมาณ การออกข้อบัญญัติที่ไม่ขัดต่อกฎหมายรัฐธรรมนูญและควรให้มีคณะกรรมการในการควบคุมการบริหารงานของตารวจแทนที่จะให้ผู้ว่าราชการเชียงใหม่มหานครเป็นผู้มีอานาจบังคับบัญชาโดยตรงen_US
dc.language.isothen_US
dc.subjectการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นen_US
dc.subjectเชียงใหม่มหานครen_US
dc.titleปัญหาและอุปสรรคทางกฎหมายในการบริหารราชการ ส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ศึกษากรณี: จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativePROBLEMS AND IMPEDIMENTS IN SPECIAL LOCAL OFFICIAL ADMINISTRATION STUDY CASE: CHIANG MAI PROVINCEen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:S_CHO-09. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
abstract.pdf199.66 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.