Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6270
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorณัฐนิชา มะโนเรืองen_US
dc.date.accessioned2019-06-12T09:08:34Z-
dc.date.available2019-06-12T09:08:34Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.citationณัฐนิชา มะโนเรือง. 2561. "จิตวิทยา สภาพแวดล้อมเพื่อการศึกษา : การปรับปรุงสภาพแวดล้อมและพื้นที่ สาธารณะ มหาวิทยาลัยศรีปทุม." ผลงานนักศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6270-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ทางสถาปัตยกรรม หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.description.abstractแนวคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการเกิดรูปทรงหรือที่ว่างทางสถาปัตยกรรม ล้วน มาจากปัจจัยด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสถาปัตยกรรมโดยตรง เช่น สถานที่ เวลา บริบท และพฤติกรรม ซึ่งได้สนใจในการนำหลักการจิตวิทยาสภาพแวดล้อม และ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสภาพแวดล้อมมาศึกษา และทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบ กับมหาวิทยาลัยศรีปทุม โดยนำเอารูปแบบหลักการที่ถูกต้อง มาใช้เป็นหลักการต้นแบบเพื่อน ปรับปรุงและพัฒนามหาลัยในรูปแบบใหม่เพื่อตอบรับความต้องการของนักศึกษาและเศรษฐกิจ ในอนาคาต อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับองค์กร ได้ทา การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยศรีปทุมและสนใจ เกี่ยวกับบทบาทระหว่างสถาปัตยกรรมกับพื้นที่ว่าง นามาซึ่งแนวคิดในการออกแบบพื้นที่ว่าง และภูมิทัศน์ เช่น สวนสาธารณะ พื้นที่สี เขียวและพื้นที่สำหรับกิจกรรมสันทนาการ ดังนั้นการ ออกแบบและคุณภาพในการปรับเปลี่ยนที่ว่าง กิจกรรม และบริบทแวดล้อม จึงมีความเชื่อม โยง กับสถาปัตยกรรมในการมีปฏิสัมพันธ์กับพื้นที่ว่างและภูมิทัศน์ และได้ทำ การวิเคราะห์พื้นที่และ กิจกรรมของนักศึกษาโดยอิงจากหลักการและทฤษฎีต่างๆเช่น ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องของพื้นที่โล่ง ว่าง ทฤษฎีการเชื่อมโยง แนวคิดทางกายภาพ ความสัมพันธ์ของพฤติกรรมกับสภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ของพื้นที่ว่าง เป็นต้น ซึ่งหลักการออกแบบที่ได้มา จะเป็นทั้ง วิธีการแก้ปัญหา และ เป็นแนวทางการออกแบบ ศึกษารวบรวมและวิเคราะห์ประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับแนวคิดและแนวทางการออกแบบ สถาปัตยกรรม สภาพแวดล้อม และ พฤติกรรม ให้สอดคล้องสัมพันธ์กัน โดยเฉพาะที่ว่างที่อยู่ ระหว่างกลาง บริเวณรอยต่อระหว่างสถาปัตยกรรมกับบริบท ที่สัมพันธ์กับกิจกรรม และ พฤติกรรมมนุษย์ ซึ่งนาไปสู่แนวทางการพัฒนารูปแบบและแนวคิดในการออกแบบ สถาปัตยกรรมen_US
dc.description.sponsorshipคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.relation.ispartofseries57036498_ณัฐนิชา มะโนเรือง_2561en_US
dc.subjectสภาพแวดล้อมทางกายภาพen_US
dc.subjectพฤติกรรมen_US
dc.titleจิตวิทยา สภาพแวดล้อมเพื่อการศึกษา : การปรับปรุงสภาพแวดล้อมและพื้นที่ สาธารณะ มหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.title.alternativeEnvironment Psychology for Education : Environment and Public Space Improvement, Sripatum Universityen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:ARC-08. ผลงานนักศึกษา

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57036498 ณัฐนิชา มะโนเรือง.pdf3.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.