Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6309
Title: การเพิ่มหมู่ฟังก์ชันบนผิวถ่านชาร์จากหญ้าเนเปียร์โดยการออกซิไดซ์ด้วยโอโซนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซับไอออนของเหล็ก
Other Titles: Increase of Functional Groups on Charcoal Surface Area from Napier Grass by Ozone Oxidation for Iron Ion Adsorption Effectiveness
Authors: สมเกียรติ กรวยสวัสดิ์
อภิรักษ์ สวัสดิ์กิจ
ธัญกร คำแวง
Keywords: หมู่ฟังก์ชัน
ออกซิเดชัน
โอโซน
การดูดซับ
Functional Group
Oxidation
Ozone
Adsorption
Issue Date: 28-June-2562
Publisher: มหาวิทยาล้ยศรีปทุม
Citation: สมเกียรติ กรวยสวัสดิ์. (2562). การเพิ่มหมู่ฟังก์ชันบนผิวถ่านชาร์จากหญ้าเนเปียร์โดยการออกซิไดซ์ด้วยโอโซนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซับไอออนของเหล็ก. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครัั้งที่ 3 (น.698-708). ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
Abstract: การศึกษาการเพิ่มหมู่ฟังก์ชันบนพื้นผิวของถ่านชาร์จากหญ้าเนเปียร์ โดยการออกซิไดซ์ด้วยโอโซน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซับไอออนของเหล็กในน้ำ แล้วนำไปตรวจวัดพื้นผิวและความเป็นรูพรุนของสารตัวอย่างเท่ากับ 337.19 ตารางเมตรต่อกรัม นำถ่านชาร์ตัวอย่างมาบดแล้วไปออกซิไดซ์ด้วยโอโซนโดยใช้เวลา 0 30 60 90 และ 120 นาที แล้วนำไปตรวจสอบหมู่ฟังก์ชัน ด้วยเครื่องฟูเรียร์ทรานสฟอร์ม อินฟราเรด สเปกโตรโฟโตมิเตอร์ และวิธีการไทเทรตของโบห์ม จากนั้นนำถ่านชาร์ตัวอย่างไปแลกเปลี่ยนไอออน โดยการจุ่มชุ่มในสารละลายเฟอรัสคลอไรด์และตรวจวัดปริมาณการดูดซับไอออนของเหล็กโดยใช้อะตอมมิกแอพซอปชันสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ จากผลการทดลองพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงในเชิงปริมาณของหมู่ฟังก์ชันเพิ่มขึ้น เมื่อเวลาที่ใช้ในการออกซิไดซ์เพิ่มขึ้น ส่วนปริมาณการดูดซับไอออนของเหล็กจากถ่านชาร์ที่ไม่ผ่านการออกซิไดซ์นั้น สามารถดูดซับได้ 1.81 มิลลิกรัมของเหล็กต่อกรัมของถ่านชาร์ตัวอย่าง ส่วนถ่านชาร์ที่ผ่านการออกซิไดซ์ที่ 120 นาทีนั้น สามารถดูดซับได้ 4.83 มิลลิกรัมของเหล็กต่อกรัมของถ่านชาร์ตัวอย่าง ดังนั้นจึงสามารถนำถ่านชาร์จากหญ้าเนเปียร์ไปใช้ประโยชน์ในการดูดซับไอออนของเหล็กในน้ำประปา ถือเป็นทางเลือกหนึ่งที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และไม่มีสารเคมีตกค้างในกระบวนการผลิตน้ำประปา เพื่อให้ชุมชนได้ใช้น้ำที่สะอาดและปลอดภัย
Description: This study is an increasing functional groups on charcoal surface area from napier grass by ozone oxidation. It used for increasing Fe2+ adsorption efficiency in the water. The measuring instrument used to measure by surface area and porosity analyzer (BET) as 337.19 m2/g. The samples were grinded and sent to an ozone oxidation process at 0, 30, 60, 90 and 120 min. Then, the samples were measured by FT-IR spectrophotometer and Boehm’s Titration method for evaluate the functional groups. After that, these samples were made ion-exchange by the impregnation in ferrous chloride (FeCl2) solution and measured the concentration of Fe2+ adsorption by Atomic Absorption Spectrophotometer (AAs). The results had the quantitative change of the functional groups increase when the time for ozone oxidation increase. The amount of Fe2+ adsorption from the oxidation sample at 0 min as 1.81 mg-Fe/g-sample. And the amount of Fe2+ adsorption from the oxidation sample at 120 min as 4.83 mg-Fe/g-sample. Therefore, we can apply the charcoal from napier grass for iron ion adsorption in the water supply. It is a good choice, environment friendly, and non residue used for clean and save water in the community.
URI: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6309
Appears in Collections:GEN-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
บทความวิจัย ILI 66 p698-p708.pdf385.44 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.