กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6410
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorภัสสร เรืองฤทธิ์en_US
dc.date.accessioned2019-10-05T06:08:55Z-
dc.date.available2019-10-05T06:08:55Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.citationภัสสร เรืองฤทธิ์. 2562. "ปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553." วิทยานิพนธ์ของการนิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6410-
dc.descriptionภัสสร เรืองฤทธิ์. ปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553. วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิตกลุ่มวิชากฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ. 2562.en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองสิทธิเด็กหรือเยาวชนและบทบัญญัติแห่งกฎหมายในการตรวจสอบการจับกุมเด็กหรือเยาวชน ศึกษาแนวทางปฏิบัติในกระบวนการจับกุมเด็กหรือเยาวชนของต่างประเทศ ศึกษาและวิเคราะห์ถึงปัญหาและข้อเสนอแนะในการแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 จากการศึกษาพบว่า ตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 มีส่วนที่ต้องปรับปรุงแก้ไขในประเด็นเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้จับกุมไม่ได้เป็น ผู้ให้ศาลตรวจสอบการจับกุมที่ศาลด้วยตนเอง รวมถึงเรื่องระยะในการตรวจสอบการจับกุมที่พนักงานสอบสวนต้องใช้ระยะเวลาในการรวบรวมข้อมูล ทำให้ไม่สามารถนำตัวเด็กหรือเยาวชนไปศาลภายในเวลา 24 ชั่วโมง และในประเด็นการตีความข้อกฎหมายเกี่ยวกับการตรวจสอบการจับกุมเด็กหรือเยาวชนกรณีที่พนักงานสอบสวนเห็นว่าคดีอาจเปรียบเทียบปรับได้ อันเป็นข้อยกเว้นที่พนักงานสอบสวนไม่ต้องนำตัวเด็กหรือเยาวชนผู้ถูกจับไปให้ศาลตรวจสอบการจับกุม ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 72 วรรคสาม การตีความกฎหมายที่แตกต่างกันดังกล่าวอาจส่งผลให้การบังคับใช้กฎหมายในกรณีนี้เกิดผลกระทบต่อรูปคดีหรือตัวเด็กหรือเยาวชนผู้ถูกจับได้ รวมถึง การสอบปากคำในกรณีที่บุคคลได้กระทำความผิดในขณะที่เป็นเด็กหรือเยาวชนและต่อมาถูกจับได้ในขณะที่เป็นผู้ใหญ่หรือพ้นเกณฑ์ที่จะเป็นเด็กหรือเยาวชนแล้ว ที่จะเป็นปัญหาในทางปฏิบัติ ซึ่งกฎหมายไม่ได้บัญญัติกรณีดังกล่าวไว้en_US
dc.description.sponsorshipหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิตกลุ่มวิชากฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.relation.ispartofseriesSPU_ภัสสร เรืองฤทธิ์_T184601_2562en_US
dc.subjectสิทธิen_US
dc.subjectเด็กและเยาวชนen_US
dc.subjectการจับกุมen_US
dc.titleปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553en_US
dc.title.alternativePROBLEMS OF ENFORCING JUVENILE AND FAMILY COURT AND JUVENILE AND FAMILY CASE PROCEDURE ACT B.E. 2553en_US
dc.typeThesisen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:LAW-09. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท



รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น