Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6850
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภูริพงษ์ พลพิมลพัฒน์th_TH
dc.date.accessioned2020-08-21T03:23:01Z-
dc.date.available2020-08-21T03:23:01Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.citationภูริพงษ์ พลพิมลพัฒน์. 2556."การเสริมกำลังอาคารเรียนคอนกรีตเสริมเหล็กด้วยองค์อาคารยึดไร้การโก่งเดาะ." วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.th_TH
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6850-
dc.descriptionตาราง และรูปภาพth_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการเสริมโครงสร้างอาคารเรียนคอนกรีตเสริมเหล็กเพื่อต้านทานแรงแผ่นดินไหวด้วยองค์อาคารยึดรั้งไร้การโก่งเดาะ ในการศึกษานี้เลือกอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กสูง 3 ชั้น ซึ่งเป็นอาคารเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการเพื่อใช้เป็นอาคารต้นแบบ ในการประเมินกำลังโครงสร้างอาคาร ได้ทำการจำลองพฤติกรรมการรับแรงอินลาสติกของโครงสร้างแบบหน้าตัดไฟเบอร์ โดยใช้โปรแกรม PERFORM-3D และการวิเคราะห์โดยวิธีการผลักแบบสถิตย์ไม่เชิงเส้นแบบ 3 มิติ และด้วยวิธีพลศาสตร์ไม่เชิงเส้น โดยใช้คลื่นแผ่นดินไหวบริเวณพื้นที่จังหวัดแพร่ เพื่อประเมินระดับความเสียหายและรูปแบบความเสียหายของโครงสร้าง ผลการวิเคราะห์พบว่า สำหรับโครงสร้างอาคารเดิม ผนังก่ออิฐโดยรอบอาคารและเสาคอนกรีตบริเวณขอบอาคาร เกิดการแตกร้าว โดยค่าความเครียดของคอนกรีตและเหล็กเสริมที่เสาบริเวณปลายบนและล่างที่จุดต่อเสาและคาน มีค่าเท่ากับ 1.56 ซึ่งสูงกว่าค่าตามมารตฐานคือ 1.0 หลังการเสริมกำลังโครงสร้างด้วยวิธีองค์อาคารยึดรั้งไร้การโก่งเดาะบริเวณขอบอาคาร พบว่าค่าความเครียดของคอนกรีตและเหล็กเสริมที่เสาบริเวณปลายบนและล่างที่จุดต่อเสาและคาน มีค่าเท่ากับ 0.96 ซึ่งต่ำกว่าค่ามาตรฐานคือ 1.0 และค่าการเคลื่อนที่สัมพัทธ์ระหว่างชั้นอาคารมีค่าเท่ากับ 1.5% บริเวณเสาชั้นล่าง ซึ่งต่ำกว่าค่าที่ยอมให้ตามมาตรฐานคือ 2% ดังนั้นสามารถใช้วิธีการเสริมกำลังโครงสร้างด้วยองค์อาคารรั้งยึดไร้การโก่งเดาะกับอาคารตัวอย่างได้th_TH
dc.description.sponsorshipSripatum Universityth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยศรีปทุมth_TH
dc.subjectองค์อาคารยึดรั้งไร้การโก่งเดาะth_TH
dc.subjectเสริมกำลังโครงสร้างth_TH
dc.subjectวิธีการผลักแบบสถิติไม่เชิงเส้นแบบ 3 มิติth_TH
dc.subjectวิธีพลศาสตร์ไม่เชิงเส้นth_TH
dc.titleการเสริมกำลังอาคารเรียนคอนกรีตเสริมเหล็กด้วยองค์อาคารยึดรั้งไร้การโก่งเดาะth_TH
dc.title.alternativeSTRENGTHENING OF REINFORCED CONCRETE SCHOOL BUILDING WITH BUCKLING RESTRAINED BRACEth_TH
dc.typeThesisth_TH
Appears in Collections:EGI-09. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.