Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/7925
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเจนจิรา สำลีศรีth_TH
dc.date.accessioned2022-01-12T03:58:57Z-
dc.date.available2022-01-12T03:58:57Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.citationเจนจิรา สำลีศรี. 2564. "การกำหนดความผิดอาญาฐานบุกรุกเคหสถานที่พักอาศัย." บทความวิจัย สารนิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.th_TH
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/7925-
dc.description.abstractสารนิพนธ์เล่มนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาเรื่องมาตรการการกำหนดความผิดอาญาฐานบุกรุกเคหสถานที่พักอาศัย โดยมีวัตถุประสงค์ศึกษาความสำคัญของมาตรการทางกฎหมายในความผิดฐานบุกรุกเคหสถานที่พักอาศัย ว่าการที่ผู้กระทำความผิดได้บุกรุกเข้าไปหรือซ่อนตัวอยู่ในเคหสถานที่พักที่ หมายความรวมถึง เคหสถานที่พักอาศัย (Privacy) ที่หมายถึง ความเป็นส่วนตัวในบ้านที่พักอาศัย สิทธิที่จะอยู่ตามลำพัง และเป็นสิทธิที่เจ้าของสามารถที่จะควบคุมพื้นที่ส่วนตัวของตนเอง หรือการที่บุคคลมีสิทธิอันชอบธรรมที่จะอยู่อย่างสันโดษโดยปราศจากการแทรกแซง การรบกวนจากบุคคลอื่น ที่ไม่ใช่เป็นการบุกรุกอสังหาริมทรัพย์ธรรมดาทั่วไป ในขณะเดียวกันบทบัญญัติตามกฎหมายไทยในปัจจุบันความผิดอันเกี่ยวกับการบุกรุกที่ปรากฏอยู่ในประมวลกฎหมายอาญา เพียงแต่บัญญัติความผิดเรื่องการบุกรุกเคหสถานทั่วไปตามมาตรา 364 เท่านั้น มิได้บัญญัติอันว่าด้วยเรื่องการบุกรุกเคหสถานที่พักอาศัยแยกออกจากกันไว้ จึงเป็นกรณีที่บทบัญญัติและการลงโทษของกฎหมายในกรณีดังกล่าวไม่ได้สัดส่วนกับการกระทำความผิดอย่างแท้จริง โดยเมื่อศึกษาบทบัญญัติกฎหมายไทยเปรียบเทียบกับบทกฎหมายต่างประเทศแล้ว เห็นว่ากฎหมายต่างประเทศมีบทบัญญัติที่มีลักษณะเป็นการกำหนดความผิดอาญาฐานบุกรุกเคหสถานที่พักอาศัยที่แบ่งแยกออกจากฐานความผิดบุกรุกทั่วไปมีเฉพาะในบทกฎหมายบางประเทศ อาทิเช่น สาธารณรัฐอินเดีย สาธารณรัฐสิงคโปร์ และสาธารณรัฐฝรั่งเศส เป็นต้น ดังนั้น จึงมีข้อเสนอแนะให้กฎหมายอาญาไทยมีการปรับปรุงบทบัญญัติความผิดอาญาและบทลงโทษที่เหมาะสม จึงสมควรที่จะมีการกำนหนดให้การบุกรุกเคหสถานที่พักอาศัยเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาไทย และมาตรการการลงโทษที่เหมาะสมสำหรับการกระทำความผิดลักษณะดังกล่าว เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพและมีความครอบคลุมมากขึ้น สามารถนำมาบังคับใช้กับปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพอาญาฐานบุกรุกเคหสถานที่พักอาศัยที่แบ่งแยกออกจากฐานความผิดบุกรุกทั่วไปมีเฉพาะในบทกฎหมายบางประเทศ อาทิเช่น สาธารณรัฐอินเดีย สาธารณรัฐสิงคโปร์ และสาธารณรัฐฝรั่งเศส เป็นต้น ดังนั้น จึงมีข้อเสนอแนะให้กฎหมายอาญาไทยมีการปรับปรุงบทบัญญัติความผิดอาญาและบทลงโทษที่เหมาะสม จึงสมควรที่จะมีการกำนหนดให้การบุกรุกเคหสถานที่พักอาศัยเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาไทย และมาตรการการลงโทษที่เหมาะสมสำหรับการกระทำความผิดลักษณะดังกล่าว เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพและมีความครอบคลุมมากขึ้น สามารถนำมาบังคับใช้กับปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพอาญาฐานบุกรุกเคหสถานที่พักอาศัยที่แบ่งแยกออกจากฐานความผิดบุกรุกทั่วไปมีเฉพาะในบทกฎหมายบางประเทศ อาทิเช่น สาธารณรัฐอินเดีย สาธารณรัฐสิงคโปร์ และสาธารณรัฐฝรั่งเศส เป็นต้น ดังนั้น จึงมีข้อเสนอแนะให้กฎหมายอาญาไทยมีการปรับปรุงบทบัญญัติความผิดอาญาและบทลงโทษที่เหมาะสม จึงสมควรที่จะมีการกำนหนดให้การบุกรุกเคหสถานที่พักอาศัยเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาไทย และมาตรการการลงโทษที่เหมาะสมสำหรับการกระทำความผิดลักษณะดังกล่าว เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพและมีความครอบคลุมมากขึ้น สามารถนำมาบังคับใช้กับปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพth_TH
dc.description.sponsorshipSripatum Universityth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยศรีปทุมth_TH
dc.subjectบุกรุกเคหสถานth_TH
dc.subjectสถานที่พักอาศัยth_TH
dc.titleการกำหนดความผิดอาญาฐานบุกรุกเคหสถานที่พักอาศัยth_TH
dc.title.alternativeCRIMINAL DETERMINATION FOR OFFENSE OF TRESPASSING ON RESIDENTIAL PREMISESth_TH
dc.typeThesisth_TH
Appears in Collections:LAW-08. ผลงานนักศึกษา



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.