กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8179
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาสมรรถนะของอาจารย์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏ กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพื่อเตรียมความพร้อมสู่นโยบายประเทศไทย 4.0.
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: รชต อุบลเลิศ
ปิยากร หวังมหาพร
คำสำคัญ: การพัฒนา
สมรรถนะ
อาจารย์
ราชภัฏ
นโยบาย 4.0
วันที่เผยแพร่: กันยายน-2021
สำนักพิมพ์: วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
แหล่งอ้างอิง: รชต อุบลเลิศและปิยากร หวังมหาพร. (2564). การพัฒนาสมรรถนะของอาจารย์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏ กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพื่อเตรียมความพร้อมสู่นโยบายประเทศไทย 4.0. วารสารการเมืองการปกครอง, 11, 3 (กันยายน - ธันวาคม 2564): 122-136.
บทคัดย่อ: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสมรรถนะที่เป็นจริงและที่พึงประสงค์ของอาจารย์ฯ 2) เปรียบเทียบความแตกต่างของสมรรถนะที่เป็นจริงกับสมรรถนะที่พึงประสงค์ของอาจารย์ฯ 3) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะที่เป็นจริงของอาจารย์ฯและ 4) ศึกษาสภาพปัญหา และแนวทางการพัฒนาสมรรถนะที่เป็นจริงของอาจารย์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประเทศไทย 4.0 กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณ ได้แก่ อาจารย์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ านวน 142 ตัวอย่าง เครื่องมือได้แก่แบบสอบถามแบบมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.99 และสถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test สหสัมพันธ์ และการถดถอยพหุคูณเชิงเส้นตรง ผู้ให้ข้อมูลส าคัญเชิงคุณภาพ ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้บริหารหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต รวม 25 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการวิจัยพบว่าสมรรถนะโดยรวมอยู่ในระดับมาก ผลการเปรียบเทียบ พบว่า สมรรถนะที่เป็นจริงและ ที่พึงประสงค์แตกต่างกัน โดยสมรรถนะที่เป็นจริงต่ ากว่าสมรรถนะที่พึงประสงค์อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ส่วนปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะที่เป็นจริงฯ อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ปัจจัยการส่งเสริมทางวิชาการ และปัจจัยค้ าจุน สามารถอธิบายเปลี่ยนแปลงสมรรถนะที่เป็นจริงฯ ได้ร้อยละ 60 (R2= 0.60) สภาพปัญหาในการพัฒนาสมรรถนะฯ ได้แก่ขาดความรู้ความสามารถ ภารกิจงานวิชาการไม่ชัดเจน ไม่ต้องการพัฒนาตนเอง สถาบันไม่เห็นความสำคัญของการพัฒนา และงานวิชาการไม่สอดคล้องกับความต้องการ โดยแนวทางการพัฒนาสมรรถนะเพื่อเข้าสู่ประเทศไทย 4.0 ได้แก่ เน้นการใช้เทคโนโลยี มีฝ่ายสนับสนุนภารกิจอาจารย์มีบรรยากาศสร้างงานวิชาการ และมีการร่วมมือกันทั้งภายในและภายนอกองค์กร
URI: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8179
ISSN: 2228-8562
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:GRA-02. บทความวิชาการ/วิจัย (วารสารระดับชาติ)



รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น

เครื่องมือสำหรับผู้ดูแลระบบ