Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8276
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชนินาท แสงสิน และ สุพัฒตรา ศรีญาณลักษณ์th_TH
dc.date.accessioned2022-05-30T10:33:06Z-
dc.date.available2022-05-30T10:33:06Z-
dc.date.issued2022-05-11-
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8276-
dc.description.abstractกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์เส้นด้ายไนลอนของบริษัทกรณีศึกษามีการสูญเสียในกระบวนการผลิต เช่น ผลิตของเสีย จำนวน 8.33% ของยอดการผลิต บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดการสูญเสียในกระบวนการผลิต โดยเน้นใน 4 ด้าน คือ ด้านคุณภาพ (Quality) ด้านต้นทุน (Cost) ด้านการส่งมอบ (Delivery) และด้านความปลอดภัย (Safety) หรือ QCDS ขั้นตอนในการศึกษาประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ ศึกษากระบวนการผลิต เก็บข้อมูลการสูญเสียที่ส่งผลต่อ QCDS จัดลำดับความสำคัญของปัญหาเพื่อเลือกประเด็นปรับปรุง จากนั้นทำการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และปรับปรุงกระบวนการทำงาน พบว่าปัญหาการสูญเสียเกิดขึ้นในขั้นตอนการทำความสะอาดผิวหน้า (Spinneret Coating) ขั้นตอนการเริ่มเดินเครื่องจักร (Start) ขั้นตอนการตัดด้าย และขั้นตอนบรรจุด้าย ในการแก้ไขปัญหาประยุกต์ใช้หลักการ ECRS จัดทำระเบียบปฏิบัติงาน การปรับสภาพแวดล้อมในการทำงานเพื่อความปลอดภัย ผลการปรับปรุงการสูญเสียลดลง 3.99% สามารถประหยัดจำนวนเงินสูญเสียได้ 39,293 บาทต่อเดือนหรือคิดเป็น 471,518 บาทต่อปี สามารถเพิ่มผลผลิต 57 กิโลกรัมต่อเดือน มีโอกาสขายเพิ่มขึ้นคิดเป็นเงิน 6,245 บาทต่อเดือน คิดเป็น 74,940 บาทต่อปี และความเสี่ยงที่พนักงานจะได้รับอันตรายจากการปฏิบัติงานลดลงth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherการประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2656 จัดโดย ข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ โดยมีคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นเจ้าภาพth_TH
dc.subjectการลดการสูญเสียth_TH
dc.subjectองค์ประกอบในการเพิ่มผลผลิตth_TH
dc.subjectQCDSth_TH
dc.subjectECRSth_TH
dc.titleการลดการสูญเสียในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ประเภทเส้นด้านไนลอนฟิลาเม้นท์th_TH
dc.typeWorking Paperth_TH
Appears in Collections:EGI-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
02_บทความQEM011.pdf6.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.